เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่

 

recipe

กล้วยทอด (กล้วยแขก)

Recipe by นภาพร สิมณี

Serves

10 คน

Level

2

กล้วยทอดหรือกล้วยแขกสูตรนี้มีความพิเศษที่มีารผสมกลอยแห้งเพื่อเพิ่มความกรอบๆ มันๆ ให้กับแป้งสูตรนี้และยังเป็นสูตรแป้งที่ทำง่าย ใช้แป้งชนิดเดียวในการทำและเป็นสูตรแป้งที่กรอบนาน อร่อย ไม่อมน้ำมันอีกด้วย

INGREDIENTS

มะพร้าวขูดขาว

200 กรัม

น้ำอุ่น

120 กรัม

แป้งข้าวเจ้า

300 กรัม

น้ำตาลทรายขาว

60 กรัม

เกลือสมุทร

1 ช้อนชา

น้ำปูนใส

2 ถ้วย

งาขาว

10 กรัม

กลอยแห้งบดหยาบชิ้นเล็กๆ

100 กรัม

ใบเตยหั่นท่อน

4-5 ใบ

กล้วยน้ำว้าห่ามปนสุก

2-3 หวี

น้ำมันพืชสำหรับทอด

METHOD

     

  1. ใส่มะพร้าวขูดขาวลงในอ่างผสม เติมน้ำอุ่น ใช้มื้อขยำๆจนเป็นมีน้ำกะทิออกมา ใส่แป้งข้าวเจ้าลงไปนวดประมาณ 5 นาที ตามด้วยน้ำตาลทราย เกลือและน้ำปูนใส ใช้มือขยำต่อจนเข้ากัน เติมงาขาวคนให้เข้ากันอีกครั้ง ปิดพลาสติกแร็ปนำเข้าตู้เย็น พักแป้ง 1 ชั่วโมง
  2.  

     

     

     

  3. เมื่อแป้งครบเวลา ใส่กลอยแห้งลงไปคนผสมให้พอเข้ากัน ปอกเปลือกกล้วยน้ำว้า หั่นกล้วยเป็นชิ้นตามยาวหนาประมาณ 0.5-1 เซนติเมตร ใส่ลงในอ่างแป้งที่ผสมไว้ (หั่นให้เท่าประมาณที่จะทอดต่อ 1 กระทะ) ลักษณะแป้งที่ได้เหลวและมีกลอบเคลือบ ตัวแป้งจะต้องไม่ข้นจนเกินไป
  4.  

     

     

     

  5. ตั้งกระทะน้ำมันพืชบนไฟกลาง พอน้ำมันเริ่มร้อนดี ใช้มือหรือที่คีบหยิบกล้วย ใส่ลงในกระทะทีละชิ้นจนเต็มกระทะ รอประมาณ 1 นาที พอแป้งเริ่มเซ็ตตัวใช้ตะหลิวค่อยๆ เขี่ยกล้วยที่ติดกันออก ระหว่างทอดหมั่นคนให้แป้งสีเสมอกัน ทอดจนแป้งสีเหลืองสวย แต่ก่อนจะตักขึ้นให้ใส่ใบเตยลงทอดประมาณ 1 นาที ตักล้วยและใบเตยขึ้นพร้อมกันขึ้นพักให้สะเด็ดน้ำมัน
  6.  

 

 

 

 

หมายเหตุ

 

 

 

 

     

  • กลอยแห้ง จะช่วยเพิ่มความกรอบและความมันให้กับแป้ง ถ้าหาไม่ได้ไม่จำเป็นต้องใส่
  •  

     

     

     

  • ลักษณะแป้งที่ดีต้องไม่ข้นจนเกินไป ถ้าแป้งข้น เวลาทอดแป้งจะหนาและแข็งเนื่องจากสูตรนี้มีแต่แป้งข้าวเจ้า สำหรับใครที่อยากให้แป้งมีความฟูเบามากกว่านี้ สามารถใส่ผงฟู 1/2 ช้อนชา เพิ่มได้
  •  

     

     

     

  • น้ำมันพืชสำหรับทอด ควรผสมน้ำมันเก่า (ที่ใช้ทอดกล้วยเท่านั้น) ในอัตราส่วนใหม่ต่อเก่าคือ 1:1 จะช่วยให้กระทะแรกของการทอดกล้วยสีแป้งจะเข้มง่าย สีจะสวย
  •  

     

     

     

  • ควรพักแป้งก่อนนำมาทอดเพราะลัษณะแป้งก่อนพักจะเหลวมาก การพักแป้งจะช่วยให้แป้งข้นขึ้นเล็กน้อย เวลานำมาชุบกล้วยจะเคลือบดีกว่าการผสมแป้งแล้วทอดเลย และทำให้เนื้อสัมผัสแป้งกรอบกว่า
  •  

     

     

     

  • การเลือกกล้วยสามารถเลือกแบบที่ชอบได้ตั้งแต่กล้วยห่ามปนสุก กล้วยสุกพอดีแต่ไม่ควรใช้กล้วยที่สุกหรือดิบจนเกินไป
  •  

Gallery

Share this content

Tags:

กล้วยน้ำว้า, ขนมไทย

Recommended Articles

Recipeน้อยหน่าน้ำกะทิ
น้อยหน่าน้ำกะทิ

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

 

Recipeขนมปลากริมไข่เต่า
ขนมปลากริมไข่เต่า

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

 

Recipeมะกรูดลอยแก้ว
มะกรูดลอยแก้ว

มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน

 

Recipeขนมปลากริมไข่เต่า
ขนมปลากริมไข่เต่า

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

 

Recipeมะกรูดลอยแก้ว
มะกรูดลอยแก้ว

มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน

 

Recipeขนมปลากริมไข่เต่า
ขนมปลากริมไข่เต่า

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

 

Recipeมะกรูดลอยแก้ว
มะกรูดลอยแก้ว

มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน

 

Recommended Videos