เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่

Serves
6 แท่ง
Level
2
ไอศกรีมแตงโมมังคุด รสนี้ใช้เวลาซักหน่อย เพราะต้องรอให้ไอศกรีมเซ็ตตัวทีละชั้นแล้วใส่ชั้นต่อไป รสหวานชื่นใจของแตงโม สลับกับรสอมเปรี้ยวของมังคุดทำให้ไอติมแท่งนี้ไม่น่าเบื่ออีกต่อไป เคล็ดลับคือ ปั่นแตงโมเสร็จแล้วกรองเอากากออกสักเล็กน้อยให้น้ำแตงโมใส ส่วนมังคุดเซาะเนื้อออกจากเปลือกแล้วปั่นทั้งเมล็ดได้เลย เราจะนำมากรองเอาแต่เนื้อมังคุดขาวๆข้นๆอีกที
INGREDIENTS
แตงโม
1/2 ลูก (1.5 กิโลกรัม)
น้ำเชื่อม (1:1)
4 ช้อนโต๊ะ
มังคุด
1 กิโลกรัม
อุปกรณ์: เครื่องปั่นน้ำ ตะแกรง พิมพ์ไอศกรีม
METHOD
- หั่นแตงโมเป็นชิ้นพอคำ สะกิดเอาเม็ดออก แกะเนื้อได้ประมาณ 900 กรัม ปั่นและกรองผ่านตะแกรง จะได้น้ำแตงโม 3 ถ้วย ใส่น้ำเชื่อม คนให้เข้ากัน
- ล้างมังคุดให้สะอาด เเกะเนื้อได้ประมาณ 400 กรัม นำเนื้อมังคุดไปปั่นให้ะละเอียดแล้วกรองผ่านตะแกรง จะได้น้ำมังคุดประมาณ 300 กรัม (หรือ 1 1/4 ถ้วย)
- เทน้ำแตงโมใส่ในพิมพ์ประมาณ 2 ช้อนโต๊ะ นำไปแช่ตู้เย็นช่องแข็งจนเซ็ตตัว แล้วเทน้ำมังคุดใส่อีก 3 ช้อนโต๊ะ นำไปแช่ให้แข็งแล้วเทน้ำแตงโมอีก 2 ช้อนโต๊ะ สลับไปจนเกือบเต็มพิมพ์ โดยเว้นที่ไว้ให้ไอศกรีมขยายตัวประมาณ 0.5 ซม. เสียบไม้ไอศกรีม นำไปแช่ตู้เย็นช่องแข็งอย่างน้อย 8 ชั่วโมงแล้วจึงถอดออกจากพิมพ์ (น้ำแตงโมอาจจะเหลือเอาไว้ใส่เป็นไอศกรีมแตงโมล้วนก็ได้)
หมายเหตุ
- น้ำเชื่อม 1:1 หมายถึงน้ำ 1 ส่วน ต้มกับน้ำตาล 1 ส่วนแค่พอละลายเป็นน้ำเชื่อมใสๆแล้วปิดไฟ (ไม่ต้องเคี่ยวให้ข้น)
บทความที่เกี่ยวข้อง
Gallery



Recommended Articles

ไอศกรีมเต้าหู้เนื้อเนียนนุ่มหอมกลิ่นเต้าหู้อ่อนๆ สูตรนี้เลือกใช้นมอัลมอนด์มาเป็นส่วนผสมของเหลวแทนน้ำเต้าหู้ เพราะตั้งใจอยากให้ได้กลิ่นถั่วอัลมอนด์ผสมอยู่ด้วยในเนื้อไอศกรีม ความหวานที่ได้เกิดจากน้ำเชื่อม ตัดรสนิดหน่อยด้วยเกลือสมุทร ก่อนเสิร์ฟโรยด้วยเต้าหู้เคลือบคาราเมลรสชาติหวานนิดเค็มหน่อยๆ เพิ่มความกรุบกรอบให้กับไอศกรีมถ้วยนี้

แมงโกกุลฟี (Mango Kulfi) ไอศกรีมนมของคนอินเดียที่เพิ่มความพิเศษโดยการใส่เนื้อมะม่วงสุกที่ปั่นแล้วลงไปผสมอยู่ในเนื้อไอศกรีมด้วย ทำให้เนื้อสัมผัสที่ได้จะมีความครีมๆนมและหวานหอมกลิ่นผลไม้ที่สำคัญไม่ทิ้งเอกลักษณ์ความเป็นอินเดียด้วยการใส่เครื่องเทศอย่างกระวานเขียวและหญ้าฝรั่งลงไปด้วยตอนต้มนมเพื่อให้ได้กลิ่นหอมเล็กน้อย

มาลัยกุลฟี่ (Malai Kulfi) ในสูตรนี้จะมีนมสดชนิดจืด (แบบไขมันสูง) น้ำตาล หัวนมผง (อันนี้เพิ่มกลิ่นหอมนมมากยิ่งขึ้น) กระวานเขียว หญ้าฝรั่น อัลมอนด์ เม็ดมะม่วง และพิตาชิโอ เป็นส่วนผสมหลัก ซึ่งขั้นตอนการทำ มาลัยกุลฟี (Malai Kulfi) ก็ไม่ยาก หลักๆก็คือการนำนมสดไปเคี่ยวให้เกิดความข้น กับน้ำตาลและหัวนมผง ให้ข้นจนเปลี่ยนสี (คล้ายสีนมข้นหวาน) แล้วใส่เครื่องเทศอย่างเม็ดกระวานและหญ้าฝรั่น เคี่ยวให้กลิ่นเครื่องเทศหอม จากนั้นก็นำเม็ดกระวานออก แล้วจึงใส่ถั่วต่างๆอย่างอัลมอนด์ เม็ดมะม่วง และพิตาชิโอ สับให้ละเอียด ลงไปต้มประมาณ 5 นาที ก่อนจะปิดไฟ แล้วพักให้หายร้อนก่อนใส่ลงพิมพ์ที่เตรียมไว้ แล้วนำไปแช่ในช่องฟรีสให้แข็งก่อนเอามากิน เนื้อไอศกรีมที่หวานมันผสมกับการได้สัมผัสของเม็ดถั่วที่ผสมอยู่ในเนื้อไอศกรีมอีกด้วย

พิตาชิโอกุลฟี่ (Pistachio Kulfi) เมนูนี้เพิ่มส่วนผสมสำคัญลงไปอย่างวิปปิ้งครีมและพิตาชิโอ โดยนำนม ครีม และน้ำตาล เคี่ยวให้ข้น ใส่เครื่องเทศอย่างกระวานลงไปเล็กน้อย เพื่อให้ได้กลิ่นจางๆ ปิดท้ายด้วยพิตาชิโอที่ผ่านการต้มให้นุ่มและนำเปลือกที่หุ้มออก ไปปั่นรวมกับส่วนผสมนมข้างต้นให้ได้เป็นเนื้อครีมมันๆ หอมกลิ่นพิตาชิโอ เมนูนี้เรียกได้ว่าถูกใจสายพิตาชิโอเป็นแน่ แต่หากใครจะเปลี่ยนรสชาติของถั่วก็ได้ตามใจชอบเลย

เนื้อแตงโมแกะเม็ดออกให้หมด นำมาปั่นในเครื่องปั่นน้ำ ปั่นให้ละเอียดเข้ากันดี จากนั้นก็เทใส่ถาดหรือภาชนะที่จะใส่แช่ แล้วนำเข้าแช่ในตู้เย็นช่องแช่แข็งเป็นเวลา 1 ½ ชั่วโมง เป็นต้นไปแล้วแต่ความเย็นของตู้เย็นนั้นๆ พอครบกำหนดก็นำมาขูดให้เป็นเกล็ดน้ำแข็งเล็กๆ โดยเริ่มขูดจากขอบมาหาจุดกลาง (โดยการขูดครั้งแรกนั้นน้ำแข็งอาจจะยังไม่เซ็ตตัวเท่าที่ควรเท่าไร ไม่ต้องตกใจไปนะคะ) แล้วนำเข้าแช่ช่องแข็งอีกครั้งประมาณ 1 ชั่วโมงก่อนนำออกมาขูดอีกครั้ง (การขูดหลายๆครั้งทำให้เนื้อของกรานิตามีความเป็นเกล็ดละเอียดมากยิ่งขึ้น) ตักใส่ถ้วยตามด้วยเนื้อแตงโมที่สคูปไว้ โรยด้วยปลาแห้ง เพียงเท่านี้ก็ได้ “กรานิตาแตงโมปลาแห้ง” ไว้กินแก้ดับร้อนกันแล้ว

ไอศกรีมเต้าหู้เนื้อเนียนนุ่มหอมกลิ่นเต้าหู้อ่อนๆ สูตรนี้เลือกใช้นมอัลมอนด์มาเป็นส่วนผสมของเหลวแทนน้ำเต้าหู้ เพราะตั้งใจอยากให้ได้กลิ่นถั่วอัลมอนด์ผสมอยู่ด้วยในเนื้อไอศกรีม ความหวานที่ได้เกิดจากน้ำเชื่อม ตัดรสนิดหน่อยด้วยเกลือสมุทร ก่อนเสิร์ฟโรยด้วยเต้าหู้เคลือบคาราเมลรสชาติหวานนิดเค็มหน่อยๆ เพิ่มความกรุบกรอบให้กับไอศกรีมถ้วยนี้

แมงโกกุลฟี (Mango Kulfi) ไอศกรีมนมของคนอินเดียที่เพิ่มความพิเศษโดยการใส่เนื้อมะม่วงสุกที่ปั่นแล้วลงไปผสมอยู่ในเนื้อไอศกรีมด้วย ทำให้เนื้อสัมผัสที่ได้จะมีความครีมๆนมและหวานหอมกลิ่นผลไม้ที่สำคัญไม่ทิ้งเอกลักษณ์ความเป็นอินเดียด้วยการใส่เครื่องเทศอย่างกระวานเขียวและหญ้าฝรั่งลงไปด้วยตอนต้มนมเพื่อให้ได้กลิ่นหอมเล็กน้อย

มาลัยกุลฟี่ (Malai Kulfi) ในสูตรนี้จะมีนมสดชนิดจืด (แบบไขมันสูง) น้ำตาล หัวนมผง (อันนี้เพิ่มกลิ่นหอมนมมากยิ่งขึ้น) กระวานเขียว หญ้าฝรั่น อัลมอนด์ เม็ดมะม่วง และพิตาชิโอ เป็นส่วนผสมหลัก ซึ่งขั้นตอนการทำ มาลัยกุลฟี (Malai Kulfi) ก็ไม่ยาก หลักๆก็คือการนำนมสดไปเคี่ยวให้เกิดความข้น กับน้ำตาลและหัวนมผง ให้ข้นจนเปลี่ยนสี (คล้ายสีนมข้นหวาน) แล้วใส่เครื่องเทศอย่างเม็ดกระวานและหญ้าฝรั่น เคี่ยวให้กลิ่นเครื่องเทศหอม จากนั้นก็นำเม็ดกระวานออก แล้วจึงใส่ถั่วต่างๆอย่างอัลมอนด์ เม็ดมะม่วง และพิตาชิโอ สับให้ละเอียด ลงไปต้มประมาณ 5 นาที ก่อนจะปิดไฟ แล้วพักให้หายร้อนก่อนใส่ลงพิมพ์ที่เตรียมไว้ แล้วนำไปแช่ในช่องฟรีสให้แข็งก่อนเอามากิน เนื้อไอศกรีมที่หวานมันผสมกับการได้สัมผัสของเม็ดถั่วที่ผสมอยู่ในเนื้อไอศกรีมอีกด้วย

พิตาชิโอกุลฟี่ (Pistachio Kulfi) เมนูนี้เพิ่มส่วนผสมสำคัญลงไปอย่างวิปปิ้งครีมและพิตาชิโอ โดยนำนม ครีม และน้ำตาล เคี่ยวให้ข้น ใส่เครื่องเทศอย่างกระวานลงไปเล็กน้อย เพื่อให้ได้กลิ่นจางๆ ปิดท้ายด้วยพิตาชิโอที่ผ่านการต้มให้นุ่มและนำเปลือกที่หุ้มออก ไปปั่นรวมกับส่วนผสมนมข้างต้นให้ได้เป็นเนื้อครีมมันๆ หอมกลิ่นพิตาชิโอ เมนูนี้เรียกได้ว่าถูกใจสายพิตาชิโอเป็นแน่ แต่หากใครจะเปลี่ยนรสชาติของถั่วก็ได้ตามใจชอบเลย

เนื้อแตงโมแกะเม็ดออกให้หมด นำมาปั่นในเครื่องปั่นน้ำ ปั่นให้ละเอียดเข้ากันดี จากนั้นก็เทใส่ถาดหรือภาชนะที่จะใส่แช่ แล้วนำเข้าแช่ในตู้เย็นช่องแช่แข็งเป็นเวลา 1 ½ ชั่วโมง เป็นต้นไปแล้วแต่ความเย็นของตู้เย็นนั้นๆ พอครบกำหนดก็นำมาขูดให้เป็นเกล็ดน้ำแข็งเล็กๆ โดยเริ่มขูดจากขอบมาหาจุดกลาง (โดยการขูดครั้งแรกนั้นน้ำแข็งอาจจะยังไม่เซ็ตตัวเท่าที่ควรเท่าไร ไม่ต้องตกใจไปนะคะ) แล้วนำเข้าแช่ช่องแข็งอีกครั้งประมาณ 1 ชั่วโมงก่อนนำออกมาขูดอีกครั้ง (การขูดหลายๆครั้งทำให้เนื้อของกรานิตามีความเป็นเกล็ดละเอียดมากยิ่งขึ้น) ตักใส่ถ้วยตามด้วยเนื้อแตงโมที่สคูปไว้ โรยด้วยปลาแห้ง เพียงเท่านี้ก็ได้ “กรานิตาแตงโมปลาแห้ง” ไว้กินแก้ดับร้อนกันแล้ว

ไอศกรีมเต้าหู้เนื้อเนียนนุ่มหอมกลิ่นเต้าหู้อ่อนๆ สูตรนี้เลือกใช้นมอัลมอนด์มาเป็นส่วนผสมของเหลวแทนน้ำเต้าหู้ เพราะตั้งใจอยากให้ได้กลิ่นถั่วอัลมอนด์ผสมอยู่ด้วยในเนื้อไอศกรีม ความหวานที่ได้เกิดจากน้ำเชื่อม ตัดรสนิดหน่อยด้วยเกลือสมุทร ก่อนเสิร์ฟโรยด้วยเต้าหู้เคลือบคาราเมลรสชาติหวานนิดเค็มหน่อยๆ เพิ่มความกรุบกรอบให้กับไอศกรีมถ้วยนี้

แมงโกกุลฟี (Mango Kulfi) ไอศกรีมนมของคนอินเดียที่เพิ่มความพิเศษโดยการใส่เนื้อมะม่วงสุกที่ปั่นแล้วลงไปผสมอยู่ในเนื้อไอศกรีมด้วย ทำให้เนื้อสัมผัสที่ได้จะมีความครีมๆนมและหวานหอมกลิ่นผลไม้ที่สำคัญไม่ทิ้งเอกลักษณ์ความเป็นอินเดียด้วยการใส่เครื่องเทศอย่างกระวานเขียวและหญ้าฝรั่งลงไปด้วยตอนต้มนมเพื่อให้ได้กลิ่นหอมเล็กน้อย

มาลัยกุลฟี่ (Malai Kulfi) ในสูตรนี้จะมีนมสดชนิดจืด (แบบไขมันสูง) น้ำตาล หัวนมผง (อันนี้เพิ่มกลิ่นหอมนมมากยิ่งขึ้น) กระวานเขียว หญ้าฝรั่น อัลมอนด์ เม็ดมะม่วง และพิตาชิโอ เป็นส่วนผสมหลัก ซึ่งขั้นตอนการทำ มาลัยกุลฟี (Malai Kulfi) ก็ไม่ยาก หลักๆก็คือการนำนมสดไปเคี่ยวให้เกิดความข้น กับน้ำตาลและหัวนมผง ให้ข้นจนเปลี่ยนสี (คล้ายสีนมข้นหวาน) แล้วใส่เครื่องเทศอย่างเม็ดกระวานและหญ้าฝรั่น เคี่ยวให้กลิ่นเครื่องเทศหอม จากนั้นก็นำเม็ดกระวานออก แล้วจึงใส่ถั่วต่างๆอย่างอัลมอนด์ เม็ดมะม่วง และพิตาชิโอ สับให้ละเอียด ลงไปต้มประมาณ 5 นาที ก่อนจะปิดไฟ แล้วพักให้หายร้อนก่อนใส่ลงพิมพ์ที่เตรียมไว้ แล้วนำไปแช่ในช่องฟรีสให้แข็งก่อนเอามากิน เนื้อไอศกรีมที่หวานมันผสมกับการได้สัมผัสของเม็ดถั่วที่ผสมอยู่ในเนื้อไอศกรีมอีกด้วย

พิตาชิโอกุลฟี่ (Pistachio Kulfi) เมนูนี้เพิ่มส่วนผสมสำคัญลงไปอย่างวิปปิ้งครีมและพิตาชิโอ โดยนำนม ครีม และน้ำตาล เคี่ยวให้ข้น ใส่เครื่องเทศอย่างกระวานลงไปเล็กน้อย เพื่อให้ได้กลิ่นจางๆ ปิดท้ายด้วยพิตาชิโอที่ผ่านการต้มให้นุ่มและนำเปลือกที่หุ้มออก ไปปั่นรวมกับส่วนผสมนมข้างต้นให้ได้เป็นเนื้อครีมมันๆ หอมกลิ่นพิตาชิโอ เมนูนี้เรียกได้ว่าถูกใจสายพิตาชิโอเป็นแน่ แต่หากใครจะเปลี่ยนรสชาติของถั่วก็ได้ตามใจชอบเลย

เนื้อแตงโมแกะเม็ดออกให้หมด นำมาปั่นในเครื่องปั่นน้ำ ปั่นให้ละเอียดเข้ากันดี จากนั้นก็เทใส่ถาดหรือภาชนะที่จะใส่แช่ แล้วนำเข้าแช่ในตู้เย็นช่องแช่แข็งเป็นเวลา 1 ½ ชั่วโมง เป็นต้นไปแล้วแต่ความเย็นของตู้เย็นนั้นๆ พอครบกำหนดก็นำมาขูดให้เป็นเกล็ดน้ำแข็งเล็กๆ โดยเริ่มขูดจากขอบมาหาจุดกลาง (โดยการขูดครั้งแรกนั้นน้ำแข็งอาจจะยังไม่เซ็ตตัวเท่าที่ควรเท่าไร ไม่ต้องตกใจไปนะคะ) แล้วนำเข้าแช่ช่องแข็งอีกครั้งประมาณ 1 ชั่วโมงก่อนนำออกมาขูดอีกครั้ง (การขูดหลายๆครั้งทำให้เนื้อของกรานิตามีความเป็นเกล็ดละเอียดมากยิ่งขึ้น) ตักใส่ถ้วยตามด้วยเนื้อแตงโมที่สคูปไว้ โรยด้วยปลาแห้ง เพียงเท่านี้ก็ได้ “กรานิตาแตงโมปลาแห้ง” ไว้กินแก้ดับร้อนกันแล้ว
Recommended Videos