เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่
Serves
12 แท่ง
Level
2
แมงโกกุลฟี (Mango Kulfi) ไอศกรีมนมของคนอินเดียที่เพิ่มความพิเศษโดยการใส่เนื้อมะม่วงสุกที่ปั่นแล้วลงไปผสมอยู่ในเนื้อไอศกรีมด้วย ทำให้เนื้อสัมผัสที่ได้จะมีความครีมๆนมและหวานหอมกลิ่นผลไม้ที่สำคัญไม่ทิ้งเอกลักษณ์ความเป็นอินเดียด้วยการใส่เครื่องเทศอย่างกระวานเขียวและหญ้าฝรั่งลงไปด้วยตอนต้มนมเพื่อให้ได้กลิ่นหอมเล็กน้อย
INGREDIENTS
มะม่วงแก้วขมิ้นสุก
520 กรัม
นมสดชนิดจืด (ไขมันสูง)
250 กรัม (1 ถ้วย)
น้ำตาลทราย
20 กรัม
เกลือป่น
¼ ช้อนชา
กระวานเขียวบุบ
3 เม็ด
หญ้าฝรั่น
¼ ช้อนชา
อุปกรณ์ พิมพ์ไอศกรีมและไม้ไอศกรีม เครื่องปั่นมือ (hand mixer)
METHOD
1. ล้างมะม่วงให้สะอาด ปอกเปลือกออก หั่นเป็นชิ้นเต๋าเล็กๆ จากนั้นใส่ในอ่างผสม ปั่นด้วยเครื่องปั่นมือ (hand mixer) ให้ละเอียด พักไว้
2. ใส่นมสดและน้ำตาลลงในหม้อ ยกขึ้นตั้งบนไฟกลาง ต้มจนส่วนผสมในหม้อเดือด จากนั้นใส่เกลือ กระวานและหญ้าฝรั่นและลดเป็นไฟอ่อน ต้มต่อจนส่วนผสมนมข้นและสีเข้มขึ้น จากนั้นตักกระวานเขียวออก ใส่มะม่วงที่ปั่นแล้วลงในหม้อ ใช้พายยางคนให้ส่วนผสมทุกอย่างเข้ากัน รอจนส่วนผสมเดือดอีกครั้ง ปิดไฟ พักให้หายร้อน
3. เทส่วนผสมลงในพิมพ์ที่เตรียมไว้ นำเข้าแช่ในตู้เย็นช่องแช่แข็ง จนส่วนเซ็ตตัวดี แกะออกจากพิมพ์ เสิร์ฟ
อ่านบทความเพิ่มเติม
Gallery
Recommended Articles
Baked Alaska เค้กไอศกรีมเก่าแก่ มีประวัติน่าสนใจได้ถูกคิดค้นขึ้นโดย Charles Ranhofer เชฟชาวฝรั่งเศสเพื่อเป็นสัญลักษณ์ในช่วงเวลาที่สหรัฐอเมริกาได้ซื้อเกาะอลาสก้าจากรัสเซีย อีกทั้งยังเป็นขนมที่ได้แรงบันดาลใจจากการค้นพบทฤษฏีการนำพาความร้อนของ Sir Benjamin Thomson ก่อนหน้านั้นที่พบว่าเมอร์แรงก์ไข่ขาวที่มีฟองอากาศมากมายนั้นเป็นฉนวนความร้อนอย่างดีจนทำให้ไอศกรีมด้านในไม่ละลาย
ซอร์เบต์ (Sorbet) คือ ไอศกรีมที่นำไปแช่แข็งจนมีลักษณะเป็นเกล็ดหิมะ ส่วนผสมหลักของซอร์เบต์คือ น้ำตาลและผลไม้รสเปรี้ยว เช่น ซอร์เบต์มะนาว ซอร์เบต์สตรอว์เบอร์รี ซอร์เบต์กีวี แต่จะใช้วัตถุดิบอื่นอย่างสมุนไพร เครื่องเทศ ดอกไม้ กาแฟ หรือชา แทนก็ได้ในเดือนแห่งเทศกาลตรุษจีน ขอต้อนรับช่วงเวลาอันเป็นมงคลด้วยรสหวานฉ่ำของ “ซอร์เบต์เก๊กฮวย” ไอศกรีมสีเหลืองทอง รสหอมหวานเย็นชื่นใจ เสิร์ฟคู่กับวุ้นเก๊กฮวย หวาน กรอบ ชาวจีนเชื่อว่า สีทอง เป็นสีมงคล หมายถึง ความร่ำรวยและความสุข ส่วนดอกเก๊กฮวย เป็นสัญลักษณ์ของความดีงาม ความยั่งยืน และอายุยืนยาว ตรุษจีนปีนี้ลองทำซอร์เบต์เก๊กฮวยแทนคำอวยพรให้ทุกคนในครอบครัวสุขสดชื่นไปด้วยกัน
ไอศกรีมเต้าหู้เนื้อเนียนนุ่มหอมกลิ่นเต้าหู้อ่อนๆ สูตรนี้เลือกใช้นมอัลมอนด์มาเป็นส่วนผสมของเหลวแทนน้ำเต้าหู้ เพราะตั้งใจอยากให้ได้กลิ่นถั่วอัลมอนด์ผสมอยู่ด้วยในเนื้อไอศกรีม ความหวานที่ได้เกิดจากน้ำเชื่อม ตัดรสนิดหน่อยด้วยเกลือสมุทร ก่อนเสิร์ฟโรยด้วยเต้าหู้เคลือบคาราเมลรสชาติหวานนิดเค็มหน่อยๆ เพิ่มความกรุบกรอบให้กับไอศกรีมถ้วยนี้
มาลัยกุลฟี่ (Malai Kulfi) ในสูตรนี้จะมีนมสดชนิดจืด (แบบไขมันสูง) น้ำตาล หัวนมผง (อันนี้เพิ่มกลิ่นหอมนมมากยิ่งขึ้น) กระวานเขียว หญ้าฝรั่น อัลมอนด์ เม็ดมะม่วง และพิตาชิโอ เป็นส่วนผสมหลัก ซึ่งขั้นตอนการทำ มาลัยกุลฟี (Malai Kulfi) ก็ไม่ยาก หลักๆก็คือการนำนมสดไปเคี่ยวให้เกิดความข้น กับน้ำตาลและหัวนมผง ให้ข้นจนเปลี่ยนสี (คล้ายสีนมข้นหวาน) แล้วใส่เครื่องเทศอย่างเม็ดกระวานและหญ้าฝรั่น เคี่ยวให้กลิ่นเครื่องเทศหอม จากนั้นก็นำเม็ดกระวานออก แล้วจึงใส่ถั่วต่างๆอย่างอัลมอนด์ เม็ดมะม่วง และพิตาชิโอ สับให้ละเอียด ลงไปต้มประมาณ 5 นาที ก่อนจะปิดไฟ แล้วพักให้หายร้อนก่อนใส่ลงพิมพ์ที่เตรียมไว้ แล้วนำไปแช่ในช่องฟรีสให้แข็งก่อนเอามากิน เนื้อไอศกรีมที่หวานมันผสมกับการได้สัมผัสของเม็ดถั่วที่ผสมอยู่ในเนื้อไอศกรีมอีกด้วย
พิตาชิโอกุลฟี่ (Pistachio Kulfi) เมนูนี้เพิ่มส่วนผสมสำคัญลงไปอย่างวิปปิ้งครีมและพิตาชิโอ โดยนำนม ครีม และน้ำตาล เคี่ยวให้ข้น ใส่เครื่องเทศอย่างกระวานลงไปเล็กน้อย เพื่อให้ได้กลิ่นจางๆ ปิดท้ายด้วยพิตาชิโอที่ผ่านการต้มให้นุ่มและนำเปลือกที่หุ้มออก ไปปั่นรวมกับส่วนผสมนมข้างต้นให้ได้เป็นเนื้อครีมมันๆ หอมกลิ่นพิตาชิโอ เมนูนี้เรียกได้ว่าถูกใจสายพิตาชิโอเป็นแน่ แต่หากใครจะเปลี่ยนรสชาติของถั่วก็ได้ตามใจชอบเลย
ซาโมซาไส้มังสวิรัติอีกอันที่เป็นที่นิยมไม่แพ้ไส้มันฝรั่งก็คือไส้ปานีร์ เราเอาผักโขมมาผัดกับเครื่องเทศ แล้วใส่ชีสปานีร์ซึ่งเป็นชีสที่นิยมในอาหารอินเดียที่เป็นมังสวิรัติทุกจาน ใส่ชีสมากน้อยแล้วแต่ความชอบ ผัดให้รสออกเค็มๆกลิ่นหอมเครื่องเทศ เมื่อผสมกับปานีร์จะออกมันกลมกล่อมพอดี กินกับน้ำจิ้มชัดนีเปรี้ยวๆอร่อยนักแล
ไส้ซาโมซาที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือไส้มังสวิรัติอย่างมันฝรั่ง บางสูตรจะใส่ถั่วลันเตาเข้าไปกับมันฝรั่งด้วย มันฝรั่งนำไปต้มทั้งหัวจนสุกนุ่ม แล้วจึงเอามาผัดกับเครื่องเทศให้หอม ที่สำคัญมันฝรั่งต้องยังพอให้เห็นเป็นชิ้นเต๋าๆไม่ผัดไปจนนุ่มเละเป็นเนื้อเดียวกัน ไส้ต้องมีกลิ่นเครื่องเทศ ขิงและพริกสด รสเค็ม มีเปรี้ยวอ่อนๆตอนท้าย สูตรนี้ใช้บีบน้ำมะนาวตอนท้าย หรือบางคนจะใส่เครื่องเทศอย่าง chaat masala ที่มีผงมะม่วงหรือผงทับทิมเป็นส่วนผสมก็ให้รสเปรี้ยวสดชื่นได้เช่นกัน
ซาโมซาไส้เนื้อหอมกลิ่นเครื่องเทศอ่อนๆ รสชาติไม่เผ็ดร้อน เคล็ดลับเลือกเนื้อบดติดมันเวลาเอาไปทอดด้านในจะชุ่มฉ่ำกำลังดี ใครไม่มีเครื่องเทศอินเดียอย่างมาซาลา (masala) หรือพริกป่นอินเดีย (Kashmiri chili powder) จะไม่ต้องใส่ก็ได้ หรืออาจใช้พริกขี้หนูป่นแบบไทยแทนได้ แต่ใส่ปริมาณให้น้อยลงเพราะรสเผ็ดกว่า
Baked Alaska เค้กไอศกรีมเก่าแก่ มีประวัติน่าสนใจได้ถูกคิดค้นขึ้นโดย Charles Ranhofer เชฟชาวฝรั่งเศสเพื่อเป็นสัญลักษณ์ในช่วงเวลาที่สหรัฐอเมริกาได้ซื้อเกาะอลาสก้าจากรัสเซีย อีกทั้งยังเป็นขนมที่ได้แรงบันดาลใจจากการค้นพบทฤษฏีการนำพาความร้อนของ Sir Benjamin Thomson ก่อนหน้านั้นที่พบว่าเมอร์แรงก์ไข่ขาวที่มีฟองอากาศมากมายนั้นเป็นฉนวนความร้อนอย่างดีจนทำให้ไอศกรีมด้านในไม่ละลาย
ซอร์เบต์ (Sorbet) คือ ไอศกรีมที่นำไปแช่แข็งจนมีลักษณะเป็นเกล็ดหิมะ ส่วนผสมหลักของซอร์เบต์คือ น้ำตาลและผลไม้รสเปรี้ยว เช่น ซอร์เบต์มะนาว ซอร์เบต์สตรอว์เบอร์รี ซอร์เบต์กีวี แต่จะใช้วัตถุดิบอื่นอย่างสมุนไพร เครื่องเทศ ดอกไม้ กาแฟ หรือชา แทนก็ได้ในเดือนแห่งเทศกาลตรุษจีน ขอต้อนรับช่วงเวลาอันเป็นมงคลด้วยรสหวานฉ่ำของ “ซอร์เบต์เก๊กฮวย” ไอศกรีมสีเหลืองทอง รสหอมหวานเย็นชื่นใจ เสิร์ฟคู่กับวุ้นเก๊กฮวย หวาน กรอบ ชาวจีนเชื่อว่า สีทอง เป็นสีมงคล หมายถึง ความร่ำรวยและความสุข ส่วนดอกเก๊กฮวย เป็นสัญลักษณ์ของความดีงาม ความยั่งยืน และอายุยืนยาว ตรุษจีนปีนี้ลองทำซอร์เบต์เก๊กฮวยแทนคำอวยพรให้ทุกคนในครอบครัวสุขสดชื่นไปด้วยกัน
ไอศกรีมเต้าหู้เนื้อเนียนนุ่มหอมกลิ่นเต้าหู้อ่อนๆ สูตรนี้เลือกใช้นมอัลมอนด์มาเป็นส่วนผสมของเหลวแทนน้ำเต้าหู้ เพราะตั้งใจอยากให้ได้กลิ่นถั่วอัลมอนด์ผสมอยู่ด้วยในเนื้อไอศกรีม ความหวานที่ได้เกิดจากน้ำเชื่อม ตัดรสนิดหน่อยด้วยเกลือสมุทร ก่อนเสิร์ฟโรยด้วยเต้าหู้เคลือบคาราเมลรสชาติหวานนิดเค็มหน่อยๆ เพิ่มความกรุบกรอบให้กับไอศกรีมถ้วยนี้
มาลัยกุลฟี่ (Malai Kulfi) ในสูตรนี้จะมีนมสดชนิดจืด (แบบไขมันสูง) น้ำตาล หัวนมผง (อันนี้เพิ่มกลิ่นหอมนมมากยิ่งขึ้น) กระวานเขียว หญ้าฝรั่น อัลมอนด์ เม็ดมะม่วง และพิตาชิโอ เป็นส่วนผสมหลัก ซึ่งขั้นตอนการทำ มาลัยกุลฟี (Malai Kulfi) ก็ไม่ยาก หลักๆก็คือการนำนมสดไปเคี่ยวให้เกิดความข้น กับน้ำตาลและหัวนมผง ให้ข้นจนเปลี่ยนสี (คล้ายสีนมข้นหวาน) แล้วใส่เครื่องเทศอย่างเม็ดกระวานและหญ้าฝรั่น เคี่ยวให้กลิ่นเครื่องเทศหอม จากนั้นก็นำเม็ดกระวานออก แล้วจึงใส่ถั่วต่างๆอย่างอัลมอนด์ เม็ดมะม่วง และพิตาชิโอ สับให้ละเอียด ลงไปต้มประมาณ 5 นาที ก่อนจะปิดไฟ แล้วพักให้หายร้อนก่อนใส่ลงพิมพ์ที่เตรียมไว้ แล้วนำไปแช่ในช่องฟรีสให้แข็งก่อนเอามากิน เนื้อไอศกรีมที่หวานมันผสมกับการได้สัมผัสของเม็ดถั่วที่ผสมอยู่ในเนื้อไอศกรีมอีกด้วย
พิตาชิโอกุลฟี่ (Pistachio Kulfi) เมนูนี้เพิ่มส่วนผสมสำคัญลงไปอย่างวิปปิ้งครีมและพิตาชิโอ โดยนำนม ครีม และน้ำตาล เคี่ยวให้ข้น ใส่เครื่องเทศอย่างกระวานลงไปเล็กน้อย เพื่อให้ได้กลิ่นจางๆ ปิดท้ายด้วยพิตาชิโอที่ผ่านการต้มให้นุ่มและนำเปลือกที่หุ้มออก ไปปั่นรวมกับส่วนผสมนมข้างต้นให้ได้เป็นเนื้อครีมมันๆ หอมกลิ่นพิตาชิโอ เมนูนี้เรียกได้ว่าถูกใจสายพิตาชิโอเป็นแน่ แต่หากใครจะเปลี่ยนรสชาติของถั่วก็ได้ตามใจชอบเลย
ซาโมซาไส้มังสวิรัติอีกอันที่เป็นที่นิยมไม่แพ้ไส้มันฝรั่งก็คือไส้ปานีร์ เราเอาผักโขมมาผัดกับเครื่องเทศ แล้วใส่ชีสปานีร์ซึ่งเป็นชีสที่นิยมในอาหารอินเดียที่เป็นมังสวิรัติทุกจาน ใส่ชีสมากน้อยแล้วแต่ความชอบ ผัดให้รสออกเค็มๆกลิ่นหอมเครื่องเทศ เมื่อผสมกับปานีร์จะออกมันกลมกล่อมพอดี กินกับน้ำจิ้มชัดนีเปรี้ยวๆอร่อยนักแล
ไส้ซาโมซาที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือไส้มังสวิรัติอย่างมันฝรั่ง บางสูตรจะใส่ถั่วลันเตาเข้าไปกับมันฝรั่งด้วย มันฝรั่งนำไปต้มทั้งหัวจนสุกนุ่ม แล้วจึงเอามาผัดกับเครื่องเทศให้หอม ที่สำคัญมันฝรั่งต้องยังพอให้เห็นเป็นชิ้นเต๋าๆไม่ผัดไปจนนุ่มเละเป็นเนื้อเดียวกัน ไส้ต้องมีกลิ่นเครื่องเทศ ขิงและพริกสด รสเค็ม มีเปรี้ยวอ่อนๆตอนท้าย สูตรนี้ใช้บีบน้ำมะนาวตอนท้าย หรือบางคนจะใส่เครื่องเทศอย่าง chaat masala ที่มีผงมะม่วงหรือผงทับทิมเป็นส่วนผสมก็ให้รสเปรี้ยวสดชื่นได้เช่นกัน
ซาโมซาไส้เนื้อหอมกลิ่นเครื่องเทศอ่อนๆ รสชาติไม่เผ็ดร้อน เคล็ดลับเลือกเนื้อบดติดมันเวลาเอาไปทอดด้านในจะชุ่มฉ่ำกำลังดี ใครไม่มีเครื่องเทศอินเดียอย่างมาซาลา (masala) หรือพริกป่นอินเดีย (Kashmiri chili powder) จะไม่ต้องใส่ก็ได้ หรืออาจใช้พริกขี้หนูป่นแบบไทยแทนได้ แต่ใส่ปริมาณให้น้อยลงเพราะรสเผ็ดกว่า
Baked Alaska เค้กไอศกรีมเก่าแก่ มีประวัติน่าสนใจได้ถูกคิดค้นขึ้นโดย Charles Ranhofer เชฟชาวฝรั่งเศสเพื่อเป็นสัญลักษณ์ในช่วงเวลาที่สหรัฐอเมริกาได้ซื้อเกาะอลาสก้าจากรัสเซีย อีกทั้งยังเป็นขนมที่ได้แรงบันดาลใจจากการค้นพบทฤษฏีการนำพาความร้อนของ Sir Benjamin Thomson ก่อนหน้านั้นที่พบว่าเมอร์แรงก์ไข่ขาวที่มีฟองอากาศมากมายนั้นเป็นฉนวนความร้อนอย่างดีจนทำให้ไอศกรีมด้านในไม่ละลาย
ซอร์เบต์ (Sorbet) คือ ไอศกรีมที่นำไปแช่แข็งจนมีลักษณะเป็นเกล็ดหิมะ ส่วนผสมหลักของซอร์เบต์คือ น้ำตาลและผลไม้รสเปรี้ยว เช่น ซอร์เบต์มะนาว ซอร์เบต์สตรอว์เบอร์รี ซอร์เบต์กีวี แต่จะใช้วัตถุดิบอื่นอย่างสมุนไพร เครื่องเทศ ดอกไม้ กาแฟ หรือชา แทนก็ได้ในเดือนแห่งเทศกาลตรุษจีน ขอต้อนรับช่วงเวลาอันเป็นมงคลด้วยรสหวานฉ่ำของ “ซอร์เบต์เก๊กฮวย” ไอศกรีมสีเหลืองทอง รสหอมหวานเย็นชื่นใจ เสิร์ฟคู่กับวุ้นเก๊กฮวย หวาน กรอบ ชาวจีนเชื่อว่า สีทอง เป็นสีมงคล หมายถึง ความร่ำรวยและความสุข ส่วนดอกเก๊กฮวย เป็นสัญลักษณ์ของความดีงาม ความยั่งยืน และอายุยืนยาว ตรุษจีนปีนี้ลองทำซอร์เบต์เก๊กฮวยแทนคำอวยพรให้ทุกคนในครอบครัวสุขสดชื่นไปด้วยกัน
ไอศกรีมเต้าหู้เนื้อเนียนนุ่มหอมกลิ่นเต้าหู้อ่อนๆ สูตรนี้เลือกใช้นมอัลมอนด์มาเป็นส่วนผสมของเหลวแทนน้ำเต้าหู้ เพราะตั้งใจอยากให้ได้กลิ่นถั่วอัลมอนด์ผสมอยู่ด้วยในเนื้อไอศกรีม ความหวานที่ได้เกิดจากน้ำเชื่อม ตัดรสนิดหน่อยด้วยเกลือสมุทร ก่อนเสิร์ฟโรยด้วยเต้าหู้เคลือบคาราเมลรสชาติหวานนิดเค็มหน่อยๆ เพิ่มความกรุบกรอบให้กับไอศกรีมถ้วยนี้
มาลัยกุลฟี่ (Malai Kulfi) ในสูตรนี้จะมีนมสดชนิดจืด (แบบไขมันสูง) น้ำตาล หัวนมผง (อันนี้เพิ่มกลิ่นหอมนมมากยิ่งขึ้น) กระวานเขียว หญ้าฝรั่น อัลมอนด์ เม็ดมะม่วง และพิตาชิโอ เป็นส่วนผสมหลัก ซึ่งขั้นตอนการทำ มาลัยกุลฟี (Malai Kulfi) ก็ไม่ยาก หลักๆก็คือการนำนมสดไปเคี่ยวให้เกิดความข้น กับน้ำตาลและหัวนมผง ให้ข้นจนเปลี่ยนสี (คล้ายสีนมข้นหวาน) แล้วใส่เครื่องเทศอย่างเม็ดกระวานและหญ้าฝรั่น เคี่ยวให้กลิ่นเครื่องเทศหอม จากนั้นก็นำเม็ดกระวานออก แล้วจึงใส่ถั่วต่างๆอย่างอัลมอนด์ เม็ดมะม่วง และพิตาชิโอ สับให้ละเอียด ลงไปต้มประมาณ 5 นาที ก่อนจะปิดไฟ แล้วพักให้หายร้อนก่อนใส่ลงพิมพ์ที่เตรียมไว้ แล้วนำไปแช่ในช่องฟรีสให้แข็งก่อนเอามากิน เนื้อไอศกรีมที่หวานมันผสมกับการได้สัมผัสของเม็ดถั่วที่ผสมอยู่ในเนื้อไอศกรีมอีกด้วย
พิตาชิโอกุลฟี่ (Pistachio Kulfi) เมนูนี้เพิ่มส่วนผสมสำคัญลงไปอย่างวิปปิ้งครีมและพิตาชิโอ โดยนำนม ครีม และน้ำตาล เคี่ยวให้ข้น ใส่เครื่องเทศอย่างกระวานลงไปเล็กน้อย เพื่อให้ได้กลิ่นจางๆ ปิดท้ายด้วยพิตาชิโอที่ผ่านการต้มให้นุ่มและนำเปลือกที่หุ้มออก ไปปั่นรวมกับส่วนผสมนมข้างต้นให้ได้เป็นเนื้อครีมมันๆ หอมกลิ่นพิตาชิโอ เมนูนี้เรียกได้ว่าถูกใจสายพิตาชิโอเป็นแน่ แต่หากใครจะเปลี่ยนรสชาติของถั่วก็ได้ตามใจชอบเลย
ซาโมซาไส้มังสวิรัติอีกอันที่เป็นที่นิยมไม่แพ้ไส้มันฝรั่งก็คือไส้ปานีร์ เราเอาผักโขมมาผัดกับเครื่องเทศ แล้วใส่ชีสปานีร์ซึ่งเป็นชีสที่นิยมในอาหารอินเดียที่เป็นมังสวิรัติทุกจาน ใส่ชีสมากน้อยแล้วแต่ความชอบ ผัดให้รสออกเค็มๆกลิ่นหอมเครื่องเทศ เมื่อผสมกับปานีร์จะออกมันกลมกล่อมพอดี กินกับน้ำจิ้มชัดนีเปรี้ยวๆอร่อยนักแล
ไส้ซาโมซาที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือไส้มังสวิรัติอย่างมันฝรั่ง บางสูตรจะใส่ถั่วลันเตาเข้าไปกับมันฝรั่งด้วย มันฝรั่งนำไปต้มทั้งหัวจนสุกนุ่ม แล้วจึงเอามาผัดกับเครื่องเทศให้หอม ที่สำคัญมันฝรั่งต้องยังพอให้เห็นเป็นชิ้นเต๋าๆไม่ผัดไปจนนุ่มเละเป็นเนื้อเดียวกัน ไส้ต้องมีกลิ่นเครื่องเทศ ขิงและพริกสด รสเค็ม มีเปรี้ยวอ่อนๆตอนท้าย สูตรนี้ใช้บีบน้ำมะนาวตอนท้าย หรือบางคนจะใส่เครื่องเทศอย่าง chaat masala ที่มีผงมะม่วงหรือผงทับทิมเป็นส่วนผสมก็ให้รสเปรี้ยวสดชื่นได้เช่นกัน
ซาโมซาไส้เนื้อหอมกลิ่นเครื่องเทศอ่อนๆ รสชาติไม่เผ็ดร้อน เคล็ดลับเลือกเนื้อบดติดมันเวลาเอาไปทอดด้านในจะชุ่มฉ่ำกำลังดี ใครไม่มีเครื่องเทศอินเดียอย่างมาซาลา (masala) หรือพริกป่นอินเดีย (Kashmiri chili powder) จะไม่ต้องใส่ก็ได้ หรืออาจใช้พริกขี้หนูป่นแบบไทยแทนได้ แต่ใส่ปริมาณให้น้อยลงเพราะรสเผ็ดกว่า
Recommended Videos