เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่

Serves
4 คน
Level
3
ข้าวเหนียวเปียกลำไย ขนมไทยฤดูร้อน ความหวานของลำไยทำให้ร่างกายสดชื่น และเพิ่มความอร่อยด้วยข้าวเหนียวเปียกราดด้วยน้ำกะทิหวานหอมใส่มะพร้าวอ่อน หน้าร้อนนี้ไม่ทำกินไม่ได้เเล้ว
INGREDIENTS
น้ำมะพร้าวอ่อน
2 ถ้วย
ข้าวเหนียวดำ
100 กรัม
น้ำตาลทราย
40 กรัม
เนื้อมะพร้าวอ่อนขูดเส้นยาว
1/2 ถ้วย
ลำไยคว้านเมล็ด
1 ถ้วย
หัวกะทิ (มะพร้าวขูดขาว 1 กิโลกรัม คั้นกับน้ำอุ่น 300 กรัม)
1 ถ้วย
เกลือสมุทร
1/2 ช้อนชา
แป้งข้าวเจ้า
1 1/2 ช้อนโต๊ะ
ใบเตยมัดเป็นปม
1 มัด
METHOD
1. ซาวข้าวเหนียวดำให้สะอาด แช่น้ำทิ้งไว้ 1 คืน
2. ตั้งหม้อใส่น้ำมะพร้าวบนไฟกลาง พอเดือด ใส่ข้าวเหนียวดำที่สะเด็ดน้ำออกแล้วลงไปต้มประมาณ 12 นาที หมั่นคนจะได้ไม่ติดหม้อ ใส่น้ำตาลทราย คนให้เข้ากัน เคี่ยวต่อจนน้ำงวดและข้าวเหนียวเป็นมันเงา ใส่มะพร้าวอ่อนและเนื้อลำไยลงไป คนให้เข้ากัน ปิดไฟ พักไว้
3. ทำกะทิหยอดหน้าโดยใส่หัวกะทิ เกลือ แป้งข้าวเจ้า และใบเตยมัดปมลงในหม้อ คนให้เข้ากัน ยกขึ้นตั้งบนไฟกลาง เคี่ยวจนกะทิข้นและแป้งสุกดี นำใบเตยออก ปิดไฟ เทใส่ถ้วย พักไว้
4. จัดเสิร์ฟโดยตักข้าวเหนียวเปียกใส่ถ้วย และหยอดหน้ากะทิ พร้อมเสิร์ฟ
อ่านบทความเพิ่มเติม
Recommended Articles

ขนมหวานหน้าร้อนต้องยกให้ข้าวเหนียวมะม่วง ข้าวเหนียวสุกนุ่มมูนกับกะทิสดหอมๆ หวานเค็มมันกำลังดี กินกับมะม่วงสุกที่หาได้ในฤดูร้อน เช่น มะม่วงน้ำดอกไม้ อกร่อง เขียวเสวย ฯลฯ เลือกใช้ข้าวเหนียวเขี้ยวงูสายพันธุ์เชียงราย เมล็ดข้าวเรียวยาว เคล็ดลับคือ การเตรียมข้าวเหนียวให้ถูกต้องก่อน ข้อแรกคือเราต้องรู้ว่าข้าวเหนียวที่ใช้เก่าหรือใหม่เพื่อที่จะแช่ข้าวเหนียวให้พอดี ข้อสองคือการล้างเอายางข้าวออกเพื่อให้มูนแล้วเมล็ดข้าววาวใส ส่วนกะทิที่มูนถ้าจะให้ดี ควรใช้กะทิสดจะหอมมันกว่ากะทิกล่องเป็นไหนๆ วิธีเลือกกะทิสดให้สั่งมะพร้าวขูดขาว (ขูดไม่ติดกะลามะพร้าว) และให้แม่ค้าคั้นแบบไม่ใส่น้ำ จะได้หัวกะทิข้นๆ เมื่อได้มาแล้ว หากยังไม่ทำทันทีให้นำหัวกะทิที่ซื้อมาตั้งไฟอ่อนพอให้กะทิร้อนประมาณ 80องศาเซลเซียสเพื่อฆ่าเชื้อโรคก่อน มิเช่นนั้นกะทิจะบูดเสียก่อน

ขนมต้มแดง เป็นขนมโบราณดังเดิม เป็นการนวดแป้งข้าวเหนียวกับน้ำให้เข้ากันจนปั้นเป็นก้อนได้ จากนั้นนำไปต้มให้แป้งสุก ส่วนตัวหน้ากระฉีกนั้นเป็นการเคี่ยวน้ำตาลมะพร้าว น้ำ และเกลือ ให้ส่วนผสมทุกอย่างละลายและเดือดเข้ากันดี จึงค่อยใส่มะพร้าวขูด เคี่ยวต่อจนส่วนผสมงวด ก่อนจะเอามาราดหรือจะนำเอาแป้งที่ต้มสุ่กแล้วลงเคล้าให้เคลือบตัวแป้งจนทั่วก็ได้เช่นกัน

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

ปลาเค็มทอดกะทิ เป็นเมนูเด็ดประจำ ‘ร้านยายปวด‘ ร้านอาหารพื้นเมืองเก่าแก่ของจังหวัดชุมพร เรียกว่าใครมาร้านยายปวดต้องสั่ง! ถ้าไม่สั่งถือว่ามาไม่ถึง! วัตถุดิบหลักๆ จะใช้ปลาอินทรีเค็มทอดมาเคี่ยวกับหัวกะทิจนแตกมัน เติมรสหวานด้วยน้ำตาลมะพร้าว ผัดจนเปลี่ยนสี รสจะออกหวานเค็มมัน หอมกลิ่นกะทิ กินคู่กับผักสด หอมแดง กระเทียมและพริกขี้หนูซอยคล้ายเมนูประเภทน้ำพริก ลักษณะหน้าตาถึงจะดูไม่เป็นรูปเป็นร่าง สีออกคล้ำๆ หน่อย แต่บอกเลยว่าอร่อยมาก

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน

ขนมหวานหน้าร้อนต้องยกให้ข้าวเหนียวมะม่วง ข้าวเหนียวสุกนุ่มมูนกับกะทิสดหอมๆ หวานเค็มมันกำลังดี กินกับมะม่วงสุกที่หาได้ในฤดูร้อน เช่น มะม่วงน้ำดอกไม้ อกร่อง เขียวเสวย ฯลฯ เลือกใช้ข้าวเหนียวเขี้ยวงูสายพันธุ์เชียงราย เมล็ดข้าวเรียวยาว เคล็ดลับคือ การเตรียมข้าวเหนียวให้ถูกต้องก่อน ข้อแรกคือเราต้องรู้ว่าข้าวเหนียวที่ใช้เก่าหรือใหม่เพื่อที่จะแช่ข้าวเหนียวให้พอดี ข้อสองคือการล้างเอายางข้าวออกเพื่อให้มูนแล้วเมล็ดข้าววาวใส ส่วนกะทิที่มูนถ้าจะให้ดี ควรใช้กะทิสดจะหอมมันกว่ากะทิกล่องเป็นไหนๆ วิธีเลือกกะทิสดให้สั่งมะพร้าวขูดขาว (ขูดไม่ติดกะลามะพร้าว) และให้แม่ค้าคั้นแบบไม่ใส่น้ำ จะได้หัวกะทิข้นๆ เมื่อได้มาแล้ว หากยังไม่ทำทันทีให้นำหัวกะทิที่ซื้อมาตั้งไฟอ่อนพอให้กะทิร้อนประมาณ 80องศาเซลเซียสเพื่อฆ่าเชื้อโรคก่อน มิเช่นนั้นกะทิจะบูดเสียก่อน

ขนมต้มแดง เป็นขนมโบราณดังเดิม เป็นการนวดแป้งข้าวเหนียวกับน้ำให้เข้ากันจนปั้นเป็นก้อนได้ จากนั้นนำไปต้มให้แป้งสุก ส่วนตัวหน้ากระฉีกนั้นเป็นการเคี่ยวน้ำตาลมะพร้าว น้ำ และเกลือ ให้ส่วนผสมทุกอย่างละลายและเดือดเข้ากันดี จึงค่อยใส่มะพร้าวขูด เคี่ยวต่อจนส่วนผสมงวด ก่อนจะเอามาราดหรือจะนำเอาแป้งที่ต้มสุ่กแล้วลงเคล้าให้เคลือบตัวแป้งจนทั่วก็ได้เช่นกัน

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

ปลาเค็มทอดกะทิ เป็นเมนูเด็ดประจำ ‘ร้านยายปวด‘ ร้านอาหารพื้นเมืองเก่าแก่ของจังหวัดชุมพร เรียกว่าใครมาร้านยายปวดต้องสั่ง! ถ้าไม่สั่งถือว่ามาไม่ถึง! วัตถุดิบหลักๆ จะใช้ปลาอินทรีเค็มทอดมาเคี่ยวกับหัวกะทิจนแตกมัน เติมรสหวานด้วยน้ำตาลมะพร้าว ผัดจนเปลี่ยนสี รสจะออกหวานเค็มมัน หอมกลิ่นกะทิ กินคู่กับผักสด หอมแดง กระเทียมและพริกขี้หนูซอยคล้ายเมนูประเภทน้ำพริก ลักษณะหน้าตาถึงจะดูไม่เป็นรูปเป็นร่าง สีออกคล้ำๆ หน่อย แต่บอกเลยว่าอร่อยมาก

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน

ขนมหวานหน้าร้อนต้องยกให้ข้าวเหนียวมะม่วง ข้าวเหนียวสุกนุ่มมูนกับกะทิสดหอมๆ หวานเค็มมันกำลังดี กินกับมะม่วงสุกที่หาได้ในฤดูร้อน เช่น มะม่วงน้ำดอกไม้ อกร่อง เขียวเสวย ฯลฯ เลือกใช้ข้าวเหนียวเขี้ยวงูสายพันธุ์เชียงราย เมล็ดข้าวเรียวยาว เคล็ดลับคือ การเตรียมข้าวเหนียวให้ถูกต้องก่อน ข้อแรกคือเราต้องรู้ว่าข้าวเหนียวที่ใช้เก่าหรือใหม่เพื่อที่จะแช่ข้าวเหนียวให้พอดี ข้อสองคือการล้างเอายางข้าวออกเพื่อให้มูนแล้วเมล็ดข้าววาวใส ส่วนกะทิที่มูนถ้าจะให้ดี ควรใช้กะทิสดจะหอมมันกว่ากะทิกล่องเป็นไหนๆ วิธีเลือกกะทิสดให้สั่งมะพร้าวขูดขาว (ขูดไม่ติดกะลามะพร้าว) และให้แม่ค้าคั้นแบบไม่ใส่น้ำ จะได้หัวกะทิข้นๆ เมื่อได้มาแล้ว หากยังไม่ทำทันทีให้นำหัวกะทิที่ซื้อมาตั้งไฟอ่อนพอให้กะทิร้อนประมาณ 80องศาเซลเซียสเพื่อฆ่าเชื้อโรคก่อน มิเช่นนั้นกะทิจะบูดเสียก่อน

ขนมต้มแดง เป็นขนมโบราณดังเดิม เป็นการนวดแป้งข้าวเหนียวกับน้ำให้เข้ากันจนปั้นเป็นก้อนได้ จากนั้นนำไปต้มให้แป้งสุก ส่วนตัวหน้ากระฉีกนั้นเป็นการเคี่ยวน้ำตาลมะพร้าว น้ำ และเกลือ ให้ส่วนผสมทุกอย่างละลายและเดือดเข้ากันดี จึงค่อยใส่มะพร้าวขูด เคี่ยวต่อจนส่วนผสมงวด ก่อนจะเอามาราดหรือจะนำเอาแป้งที่ต้มสุ่กแล้วลงเคล้าให้เคลือบตัวแป้งจนทั่วก็ได้เช่นกัน

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

ปลาเค็มทอดกะทิ เป็นเมนูเด็ดประจำ ‘ร้านยายปวด‘ ร้านอาหารพื้นเมืองเก่าแก่ของจังหวัดชุมพร เรียกว่าใครมาร้านยายปวดต้องสั่ง! ถ้าไม่สั่งถือว่ามาไม่ถึง! วัตถุดิบหลักๆ จะใช้ปลาอินทรีเค็มทอดมาเคี่ยวกับหัวกะทิจนแตกมัน เติมรสหวานด้วยน้ำตาลมะพร้าว ผัดจนเปลี่ยนสี รสจะออกหวานเค็มมัน หอมกลิ่นกะทิ กินคู่กับผักสด หอมแดง กระเทียมและพริกขี้หนูซอยคล้ายเมนูประเภทน้ำพริก ลักษณะหน้าตาถึงจะดูไม่เป็นรูปเป็นร่าง สีออกคล้ำๆ หน่อย แต่บอกเลยว่าอร่อยมาก

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน
Recommended Videos