เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่

Serves
10-12 ไม้
Level
2
กล้วยปิ้งหอมๆราดด้วยน้ำกะทิเคี่ยวกับน้ำตาลและเนื้อมะพร้าวอ่อน ฟังแค่นี้ก็หอมชวนกินแล้ว หากใครชอบกินกล้วยปิ้งแล้วละก็สูตรนี้รับลองได้ว่าอร่อยถูกปาก สะอาดถูกใจแน่นอน
INGREDIENTS
กล้วยน้ำว้าสุก
ไม้สาหรับเสียบ
หัวกะทิ
1½ ถ้วย
น้ำมะพร้าวอ่อน(มะพร้าวน้ำหอม)
1 ผล
เนื้อมะพร้าวอ่อน(มะพร้าวน้ำหอม) ขูด
1 ผล
น้ำตาลทรายชนิดไม่ฟอก
¼ ถ้วย
น้ำตาลปี๊บ
50 กรัม
เกลือสมุทร (ดอกเกลือ)
½ ช้อนชา
METHOD
1. ทำน้ำราดโดยใส่หัวกะทิ น้ำและเนื้อมะพร้าวอ่อน น้ำตาลทราย น้ำตาลปี๊บ และเกลือ ลงในกระทะทอง ยกขึ้นตั้งบนไฟอ่อนเคี่ยวให้ข้นเหนียวเล็กน้อย ปิดไฟ ตักใส่ถ้วยพักไว้ให้เย็น
2. ปอกเปลือกกล้วย นำลงแช่ในอ่างน้ำเกลือเจือจางเพื่อไม่ให้กล้วยดำ หั่นตามขวางเป็นแว่น ลูกละ 4 ชิ้น แล้วเสียบไม้ เตรียมไว้
3. วิธีการเตรียมเตาถ่านทำโดยก่อเตาถ่านให้ติดไฟ เกลี่ยให้ถ่านกระจายทั่วเตาจากนั้นตักขี้เถ้าใส่กลบพอไม่ให้มีเปลวไฟแดงไฟก็จะอ่อนเสมอกันทั่วทั้งเตำ จึงนำกล้วยที่เตรียมไว้มาปิ้งให้สุกเหลืองทั่ว
4. จัดใส่จาน เสิร์ฟพร้อมน้ำราด
Recommended Articles

ขนมสูตรนี้บอกเลยว่าอร่อยแถมดีต่อสุขภาพอีกด้วย อย่าง "พายบีทรูทเม็ดมะม่วงหิมพานต์" ตัวฐานทำจากเม็ดมะม่วงหิมพานต์นำมาปั่นให้ละเอียดด้วยเครื่องปั่นอาหาร เติมรสชาติด้วยฟิกซ์ ผงโกโก้ อบเชยป่น และเกลือ ปั่นให้เข้ากันอีกครั้งจากนั้นค่อยนำไปกรุในพิมพ์แล้วแช่ตู่เย็นสักประมาณ 1 ชั่วโมง ส่วนตัวไส้ทำจากเนื้อบีทรูท มะพร้าวขูดขาว น้ำตาลทรายแดง และเมเปิลไซรัป นำไปผสมกับเนยถั่วที่เกิดจากการนำเม็ดมะม่วงหิมพานต์มาปั่นกับน้ำมันมะพร้าวจนเนียนข้น ใส่เจลลลาตินที่เตรียมไว้ผสมให้เข้ากัน ก่อนเทใส่ฐานที่เตรียมไว้ แช่ในตู้เย็นให้เซ็ตตัวก่อนตัดกิน

ขนมต้มแดง เป็นขนมโบราณดังเดิม เป็นการนวดแป้งข้าวเหนียวกับน้ำให้เข้ากันจนปั้นเป็นก้อนได้ จากนั้นนำไปต้มให้แป้งสุก ส่วนตัวหน้ากระฉีกนั้นเป็นการเคี่ยวน้ำตาลมะพร้าว น้ำ และเกลือ ให้ส่วนผสมทุกอย่างละลายและเดือดเข้ากันดี จึงค่อยใส่มะพร้าวขูด เคี่ยวต่อจนส่วนผสมงวด ก่อนจะเอามาราดหรือจะนำเอาแป้งที่ต้มสุ่กแล้วลงเคล้าให้เคลือบตัวแป้งจนทั่วก็ได้เช่นกัน

ซุปธัญพืชแสนอร่อย อิ่มท้อง มีประโยชน์ ขั้นตอนการทำก็ไม่ยากเท่าไรโดยนำถั่วแดงไปคั่วในกระทะ จากนั้นนำไปล้างน้ำแล้วแช่ทิ้งไว้ข้ามคืน ล้างน้ำอีกรอบก่อนนำไปต้มให้สุกนุ่ม ใส่รากบัว ปรุงรสด้วยน้ำตาล จากนั้นค่อยใส่เม็ดบัวเป็นอย่างสุดท้าย ต้มจนสุก เสิร์ฟร้อนๆหรือจะนำแช่ตู้เย็นแล้วทานก็ได้เช่นกัน

อาหารเช้าง่ายๆแถมคุณประโยชน์มากมายอย่าง "ข้าวต้มเม็ดบัวกับเก๋าคี่" ที่มีทั้งแครอท เห็ดหอม เม็ดบัว เก๋าคี่ ที่เต็มไปด้วยคุณประโยชน์ทั้งนั้น ที่บอกว่าง่ายก็คือแค่ต้มส่วนผสมทั้งหมดลงในหม้อจนส่วนผสมทุกอย่างสุก ปรุงรสแค่เกลือและซีอิ๊วเล็กน้อยเพิ่มความหอมด้วยน้ำมันงา โรยด้วยผักชีและพริกไทยดำ แค่นี้ก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อยแล้ว

หัวไชเท้าเอามาทำเมนูได้หลากหลาย อย่างเมนูนี้ชาวพม่านำมายำเคล้ากับเครื่องอย่างน้ำตาล เกลือ และงาดำคั่ว และโรยหอมเจียวก่อนกิน เคล็ดลับที่จะทำให้หัวไชเท้ามีรสชาติอร่อย (ไม่เผ็ดเมื่อเวลากินดิบ) คือ จะนำหัวไช้เท้าที่เตรียมเรียบร้อยมาเคล้ากับเกลือ ทิ้งไว้สักพัก จากนั้นบีบเอาน้ำที่คายออกมาออกให้หมด แล้วนำไปเคล้ากับน้ำส้มสายชูทิ้งไว้สัก 1 คืน ก่อนนำมาปรุงรสตามส่วนผสมข้างต้น เท่านี้ก็ได้ยำหัวไช้เท้าอร่อยกินแล้ว

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน

ขนมสูตรนี้บอกเลยว่าอร่อยแถมดีต่อสุขภาพอีกด้วย อย่าง "พายบีทรูทเม็ดมะม่วงหิมพานต์" ตัวฐานทำจากเม็ดมะม่วงหิมพานต์นำมาปั่นให้ละเอียดด้วยเครื่องปั่นอาหาร เติมรสชาติด้วยฟิกซ์ ผงโกโก้ อบเชยป่น และเกลือ ปั่นให้เข้ากันอีกครั้งจากนั้นค่อยนำไปกรุในพิมพ์แล้วแช่ตู่เย็นสักประมาณ 1 ชั่วโมง ส่วนตัวไส้ทำจากเนื้อบีทรูท มะพร้าวขูดขาว น้ำตาลทรายแดง และเมเปิลไซรัป นำไปผสมกับเนยถั่วที่เกิดจากการนำเม็ดมะม่วงหิมพานต์มาปั่นกับน้ำมันมะพร้าวจนเนียนข้น ใส่เจลลลาตินที่เตรียมไว้ผสมให้เข้ากัน ก่อนเทใส่ฐานที่เตรียมไว้ แช่ในตู้เย็นให้เซ็ตตัวก่อนตัดกิน

ขนมต้มแดง เป็นขนมโบราณดังเดิม เป็นการนวดแป้งข้าวเหนียวกับน้ำให้เข้ากันจนปั้นเป็นก้อนได้ จากนั้นนำไปต้มให้แป้งสุก ส่วนตัวหน้ากระฉีกนั้นเป็นการเคี่ยวน้ำตาลมะพร้าว น้ำ และเกลือ ให้ส่วนผสมทุกอย่างละลายและเดือดเข้ากันดี จึงค่อยใส่มะพร้าวขูด เคี่ยวต่อจนส่วนผสมงวด ก่อนจะเอามาราดหรือจะนำเอาแป้งที่ต้มสุ่กแล้วลงเคล้าให้เคลือบตัวแป้งจนทั่วก็ได้เช่นกัน

ซุปธัญพืชแสนอร่อย อิ่มท้อง มีประโยชน์ ขั้นตอนการทำก็ไม่ยากเท่าไรโดยนำถั่วแดงไปคั่วในกระทะ จากนั้นนำไปล้างน้ำแล้วแช่ทิ้งไว้ข้ามคืน ล้างน้ำอีกรอบก่อนนำไปต้มให้สุกนุ่ม ใส่รากบัว ปรุงรสด้วยน้ำตาล จากนั้นค่อยใส่เม็ดบัวเป็นอย่างสุดท้าย ต้มจนสุก เสิร์ฟร้อนๆหรือจะนำแช่ตู้เย็นแล้วทานก็ได้เช่นกัน

อาหารเช้าง่ายๆแถมคุณประโยชน์มากมายอย่าง "ข้าวต้มเม็ดบัวกับเก๋าคี่" ที่มีทั้งแครอท เห็ดหอม เม็ดบัว เก๋าคี่ ที่เต็มไปด้วยคุณประโยชน์ทั้งนั้น ที่บอกว่าง่ายก็คือแค่ต้มส่วนผสมทั้งหมดลงในหม้อจนส่วนผสมทุกอย่างสุก ปรุงรสแค่เกลือและซีอิ๊วเล็กน้อยเพิ่มความหอมด้วยน้ำมันงา โรยด้วยผักชีและพริกไทยดำ แค่นี้ก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อยแล้ว

หัวไชเท้าเอามาทำเมนูได้หลากหลาย อย่างเมนูนี้ชาวพม่านำมายำเคล้ากับเครื่องอย่างน้ำตาล เกลือ และงาดำคั่ว และโรยหอมเจียวก่อนกิน เคล็ดลับที่จะทำให้หัวไชเท้ามีรสชาติอร่อย (ไม่เผ็ดเมื่อเวลากินดิบ) คือ จะนำหัวไช้เท้าที่เตรียมเรียบร้อยมาเคล้ากับเกลือ ทิ้งไว้สักพัก จากนั้นบีบเอาน้ำที่คายออกมาออกให้หมด แล้วนำไปเคล้ากับน้ำส้มสายชูทิ้งไว้สัก 1 คืน ก่อนนำมาปรุงรสตามส่วนผสมข้างต้น เท่านี้ก็ได้ยำหัวไช้เท้าอร่อยกินแล้ว

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน

ขนมสูตรนี้บอกเลยว่าอร่อยแถมดีต่อสุขภาพอีกด้วย อย่าง "พายบีทรูทเม็ดมะม่วงหิมพานต์" ตัวฐานทำจากเม็ดมะม่วงหิมพานต์นำมาปั่นให้ละเอียดด้วยเครื่องปั่นอาหาร เติมรสชาติด้วยฟิกซ์ ผงโกโก้ อบเชยป่น และเกลือ ปั่นให้เข้ากันอีกครั้งจากนั้นค่อยนำไปกรุในพิมพ์แล้วแช่ตู่เย็นสักประมาณ 1 ชั่วโมง ส่วนตัวไส้ทำจากเนื้อบีทรูท มะพร้าวขูดขาว น้ำตาลทรายแดง และเมเปิลไซรัป นำไปผสมกับเนยถั่วที่เกิดจากการนำเม็ดมะม่วงหิมพานต์มาปั่นกับน้ำมันมะพร้าวจนเนียนข้น ใส่เจลลลาตินที่เตรียมไว้ผสมให้เข้ากัน ก่อนเทใส่ฐานที่เตรียมไว้ แช่ในตู้เย็นให้เซ็ตตัวก่อนตัดกิน

ขนมต้มแดง เป็นขนมโบราณดังเดิม เป็นการนวดแป้งข้าวเหนียวกับน้ำให้เข้ากันจนปั้นเป็นก้อนได้ จากนั้นนำไปต้มให้แป้งสุก ส่วนตัวหน้ากระฉีกนั้นเป็นการเคี่ยวน้ำตาลมะพร้าว น้ำ และเกลือ ให้ส่วนผสมทุกอย่างละลายและเดือดเข้ากันดี จึงค่อยใส่มะพร้าวขูด เคี่ยวต่อจนส่วนผสมงวด ก่อนจะเอามาราดหรือจะนำเอาแป้งที่ต้มสุ่กแล้วลงเคล้าให้เคลือบตัวแป้งจนทั่วก็ได้เช่นกัน

ซุปธัญพืชแสนอร่อย อิ่มท้อง มีประโยชน์ ขั้นตอนการทำก็ไม่ยากเท่าไรโดยนำถั่วแดงไปคั่วในกระทะ จากนั้นนำไปล้างน้ำแล้วแช่ทิ้งไว้ข้ามคืน ล้างน้ำอีกรอบก่อนนำไปต้มให้สุกนุ่ม ใส่รากบัว ปรุงรสด้วยน้ำตาล จากนั้นค่อยใส่เม็ดบัวเป็นอย่างสุดท้าย ต้มจนสุก เสิร์ฟร้อนๆหรือจะนำแช่ตู้เย็นแล้วทานก็ได้เช่นกัน

อาหารเช้าง่ายๆแถมคุณประโยชน์มากมายอย่าง "ข้าวต้มเม็ดบัวกับเก๋าคี่" ที่มีทั้งแครอท เห็ดหอม เม็ดบัว เก๋าคี่ ที่เต็มไปด้วยคุณประโยชน์ทั้งนั้น ที่บอกว่าง่ายก็คือแค่ต้มส่วนผสมทั้งหมดลงในหม้อจนส่วนผสมทุกอย่างสุก ปรุงรสแค่เกลือและซีอิ๊วเล็กน้อยเพิ่มความหอมด้วยน้ำมันงา โรยด้วยผักชีและพริกไทยดำ แค่นี้ก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อยแล้ว

หัวไชเท้าเอามาทำเมนูได้หลากหลาย อย่างเมนูนี้ชาวพม่านำมายำเคล้ากับเครื่องอย่างน้ำตาล เกลือ และงาดำคั่ว และโรยหอมเจียวก่อนกิน เคล็ดลับที่จะทำให้หัวไชเท้ามีรสชาติอร่อย (ไม่เผ็ดเมื่อเวลากินดิบ) คือ จะนำหัวไช้เท้าที่เตรียมเรียบร้อยมาเคล้ากับเกลือ ทิ้งไว้สักพัก จากนั้นบีบเอาน้ำที่คายออกมาออกให้หมด แล้วนำไปเคล้ากับน้ำส้มสายชูทิ้งไว้สัก 1 คืน ก่อนนำมาปรุงรสตามส่วนผสมข้างต้น เท่านี้ก็ได้ยำหัวไช้เท้าอร่อยกินแล้ว

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน
Recommended Videos