เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่
Serves
6-8 ถ้วย
Level
3
ขนมไทยประยุกต์ เเช่แก่นตะวันหั่นชิ้นสี่เหลี่ยมในน้ำอัญชันให้ดูดสีน้ำเงิน ก่อนนำไปคลุกแป้งมันเเละเเป้งเท้ายายม่อม ต้มให้สุกทำเป็นไพลินกรอบ เสิร์ฟพร้อมถั่วแดง ลูกชิดเเละเเปะก๊วยเชื่อม ราดน้ำกะทิหอมมัน กินเเล้วลงตัวเข้ากันมาก
INGREDIENTS
แก่นตะวันปอกเปลือกหั่นชิ้นสี่เหลี่ยม
1 ถ้วย
แป้งมันสำปะหลัง
1 ถ้วย
แป้งเท้ายายม่อมบดละเอียด
¼ ถ้วย
น้ำอัญชันเข้มข้นหรือสีผสมอาหารสีน้ำเงินปริมาณเล็กน้อย
น้ำเชื่อมเจือจางสำหรับแช่ไพลิน
ถั่วแดงเชื่อม ลูกชิดเชื่อม และแปะก๊วยเชื่อม สำหรับจัดเสิร์ฟ
น้ำมะพร้าวอ่อน(มะพร้าวน้ำหอม)
1 ถ้วย
เนื้อมะพร้าวอ่อน(มะพร้าวน้ำหอม)
1 ลูก
กะทิ
1 ถ้วย
น้ำตาลทราย
150 กรัม
เกลือสมุทร (ดอกเกลือ)
1 ช้อนชา
ใบเตยมัดเป็นปม
4 ใบ
หัวกะทิ (คั้นไม่ใส่น้ำ)
2 ถ้วย
METHOD
1. ไพลินโดยล้างแก่นตะวันแล้วนำไปต้มในหม้อน้ำเดือดนาน 10 นาที ใส่ลงในอ่างน้ำจนเย็น เทใส่กระชอน พักไว้ให้สะเด็ดน้ำ เทน้ำอัญชันเข้มข้นหรือสีผสมอาหารสีน้ำเงินปริมาณเล็กน้อยผสมน้ำใส่ในอ่างผสม แล้วใส่แก่นตะวันลงคลุกให้เข้ากัน แช่พอสีติดนานประมาณ 15 นาที จากนั้นผสมแป้งทั้ง 2 ชนิดเข้าด้วยกันในอ่างผสม นำแก่นตะวันที่คลุกสีใส่ลงในแป้งแล้วนวดเบาๆให้แป้งติดทั่ว เทใส่กระชอนร่อนให้แป้งส่วนที่ไม่ติดร่วง (ไม่ควรร่อนออกมากไปเพราะจะทำให้แป้งบางเวลาต้มแล้ว)
2. ตั้งหม้อน้ำบนไฟกลางค่อนข้างแรงจนเดือด ใส่แก่นตะวันที่คลุกแป้งลงลวกพอสุกลอย แป้งที่เคลือบสุกใส และบางส่วนยังคงมีสีขาวขุ่นอยู่ ตักขึ้นล้างผ่านน้ำเย็นแป้งจะค่อยๆสุกใสทั้งหมด เทใส่กระชอนพักให้สะเด็ดน้ำ ตักใส่ในอ่างน้ำเชื่อมเจือจางเพื่อรัดให้แป้งที่เคลือบเนื้อแก่นตะวันไม่หลุดออกมา
3. ทำน้ำกะทิโดยใส่น้ำและเนื้อมะพร้าวอ่อนลงในหม้อ ใส่กะทิ น้ำตาล เกลือ และใบเตย ยกขึ้นตั้งบนไฟกลาง คนด้วยพายไม้พอทั่ว พอเดือด ใส่หัวกะทิ คนพอทั่ว ปิดไฟ
4. ตักไพลิน ถั่วแดงเชื่อม ลูกชิดเชื่อมและแปะก๊วยเชื่อม ใส่ถ้วยปริมาณตามชอบใส่น้ำกะทิ เสิร์ฟ
Recommended Articles
‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ
ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี
มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน
แป้งพัฟฟ์เป็นหนึ่งในเบเกอรีที่ยุ่งยาก ปัจจุบันมีขายแบบสำเร็จตามซุปเปอร์มาร์เก็ต เราเอามาทำขนมอย่างอื่นได้ง่ายอย่างเช่นนูเทลลาแพร์พัฟฟ์สูตรนี้ใช้แป้งพัฟฟ์สำเร็จรูปตัดให้เป็นกรอบสี่เหลี่ยม ทำคัสตาร์ดทูเทลลาใส่ด้านใน สไลซ์ลูกแพร์เชื่อมลงไป อบจนแป้งพัฟฟ์เหลืองกรอบ เป็นพัฟฟ์ของหวานกินกับชาร้อนได้เข้ากัน
ขนมไทยพื้นบ้านรสชาติอร่อยเรียบง่ายด้วยส่วนผสมไม่กี่อย่าง ได้แก่ มันสำปะหลังขูดหรือปั่นให้ละเอียด ผสมกับน้ำตาลทราย เกลือ และน้ำสะอาดหรือน้ำคั้นใบเตย ใส่ถาดนึ่งให้สุกจนเนื้อมันเปลี่ยนเป็นเหลืองใส แล้วนำมาตัดเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสคลุกกับมะพร้าวขูดที่เคล้าเกลือไว้เล็กน้อย เคล็ดลับความอร่อยอยู่ที่วัตถุดิบหลักคือ มันสำปะหลังพันธุ์ที่เรียกว่า ‘มัน 5 นาที’ เป็นพันธุ์ที่นิยมใช้ทำขนม
‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ
ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี
มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน
แป้งพัฟฟ์เป็นหนึ่งในเบเกอรีที่ยุ่งยาก ปัจจุบันมีขายแบบสำเร็จตามซุปเปอร์มาร์เก็ต เราเอามาทำขนมอย่างอื่นได้ง่ายอย่างเช่นนูเทลลาแพร์พัฟฟ์สูตรนี้ใช้แป้งพัฟฟ์สำเร็จรูปตัดให้เป็นกรอบสี่เหลี่ยม ทำคัสตาร์ดทูเทลลาใส่ด้านใน สไลซ์ลูกแพร์เชื่อมลงไป อบจนแป้งพัฟฟ์เหลืองกรอบ เป็นพัฟฟ์ของหวานกินกับชาร้อนได้เข้ากัน
ขนมไทยพื้นบ้านรสชาติอร่อยเรียบง่ายด้วยส่วนผสมไม่กี่อย่าง ได้แก่ มันสำปะหลังขูดหรือปั่นให้ละเอียด ผสมกับน้ำตาลทราย เกลือ และน้ำสะอาดหรือน้ำคั้นใบเตย ใส่ถาดนึ่งให้สุกจนเนื้อมันเปลี่ยนเป็นเหลืองใส แล้วนำมาตัดเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสคลุกกับมะพร้าวขูดที่เคล้าเกลือไว้เล็กน้อย เคล็ดลับความอร่อยอยู่ที่วัตถุดิบหลักคือ มันสำปะหลังพันธุ์ที่เรียกว่า ‘มัน 5 นาที’ เป็นพันธุ์ที่นิยมใช้ทำขนม
‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ
ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี
มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน
แป้งพัฟฟ์เป็นหนึ่งในเบเกอรีที่ยุ่งยาก ปัจจุบันมีขายแบบสำเร็จตามซุปเปอร์มาร์เก็ต เราเอามาทำขนมอย่างอื่นได้ง่ายอย่างเช่นนูเทลลาแพร์พัฟฟ์สูตรนี้ใช้แป้งพัฟฟ์สำเร็จรูปตัดให้เป็นกรอบสี่เหลี่ยม ทำคัสตาร์ดทูเทลลาใส่ด้านใน สไลซ์ลูกแพร์เชื่อมลงไป อบจนแป้งพัฟฟ์เหลืองกรอบ เป็นพัฟฟ์ของหวานกินกับชาร้อนได้เข้ากัน
ขนมไทยพื้นบ้านรสชาติอร่อยเรียบง่ายด้วยส่วนผสมไม่กี่อย่าง ได้แก่ มันสำปะหลังขูดหรือปั่นให้ละเอียด ผสมกับน้ำตาลทราย เกลือ และน้ำสะอาดหรือน้ำคั้นใบเตย ใส่ถาดนึ่งให้สุกจนเนื้อมันเปลี่ยนเป็นเหลืองใส แล้วนำมาตัดเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสคลุกกับมะพร้าวขูดที่เคล้าเกลือไว้เล็กน้อย เคล็ดลับความอร่อยอยู่ที่วัตถุดิบหลักคือ มันสำปะหลังพันธุ์ที่เรียกว่า ‘มัน 5 นาที’ เป็นพันธุ์ที่นิยมใช้ทำขนม
Recommended Videos