เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่

Serves
8 ถ้วย
Level
3
ของหวานเเบบไทยๆเย็นชื่นใจกับเมนู ว่านหางจระเข้ลอยแก้ว เหมาะกับอากาศร้อนมากๆ เป็นเมนูที่รวมความสดชื่นทั้งส้มวาเลนเซียเเละเนื้อว่านหางจระเข้ หอมกลิ่นน้ำลอยดอกมะลิ ถูกใจทุกเพศทุกวัยเเน่นอน
INGREDIENTS
ใบว่านหางจระเข้ (400 กรัม)
1 ใบ
น้ำลอยดอกมะลิ
10 ถ้วย
ดอกอัญชัน
20 ดอก
น้ำตาลกรวด
¾ ถ้วย
น้ำมะนาว
2 ช้อนโต๊ะ
ส้มวาเลนเซีย (ส้มซันควิก) เฉือนเนื้อเป็นกลีบ
1 ผล
เกลือสมุทร (ดอกเกลือ) ปริมาณเล็กน้อย
น้ำแข็งทุบสำหรับจัดเสิร์ฟ
ดอกอัญชันสำหรับตกแต่ง
METHOD
1. ล้างใบว่านหางจระเข้ ปอกเปลือกด้วยมีดบางคมๆออกจนหมด ล้างเนื้อว่านหางจระเข้ด้วยน้ำสลับกับน้ำปูนขาว ล้างหลายๆครั้งจนหมดเมือกและยางสีเหลือง แล้วหั่นว่านหางจระเข้เป็นชิ้นสี่เหลี่ยมใหญ่ จะได้ปริมาณ 2 ถ้วย ใส่ถ้วย พักไว้
2. ต้มน้ำลอยดอกมะลิในหม้อด้วยไฟกลางจนเดือด ใส่ดอกอัญชัน ต้มพอน้ำมีสีน้ำเงิน ใส่น้ำตาลกรวด พอน้ำตาลละลายหมด ใส่น้ำมะนาว และเกลือ น้ำจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงน้ำเงินจึงใส่ว่านหางจระเข้ พอเดือด ต้มนานประมาณ 10 นาที (ระหว่างต้มหมั่นช้อนฟองออก) ใส่ส้มวาเลนเซีย ต้มสักครู่ ปิดไฟ พักไว้ให้เย็น
3. ตักใส่ถ้วย ใส่น้ำแข็ง ตกแต่งด้วยดอกอัญชัน เสิร์ฟ
Gallery



Recommended Articles

ขนมหวานหน้าร้อนต้องยกให้ข้าวเหนียวมะม่วง ข้าวเหนียวสุกนุ่มมูนกับกะทิสดหอมๆ หวานเค็มมันกำลังดี กินกับมะม่วงสุกที่หาได้ในฤดูร้อน เช่น มะม่วงน้ำดอกไม้ อกร่อง เขียวเสวย ฯลฯ เลือกใช้ข้าวเหนียวเขี้ยวงูสายพันธุ์เชียงราย เมล็ดข้าวเรียวยาว เคล็ดลับคือ การเตรียมข้าวเหนียวให้ถูกต้องก่อน ข้อแรกคือเราต้องรู้ว่าข้าวเหนียวที่ใช้เก่าหรือใหม่เพื่อที่จะแช่ข้าวเหนียวให้พอดี ข้อสองคือการล้างเอายางข้าวออกเพื่อให้มูนแล้วเมล็ดข้าววาวใส ส่วนกะทิที่มูนถ้าจะให้ดี ควรใช้กะทิสดจะหอมมันกว่ากะทิกล่องเป็นไหนๆ วิธีเลือกกะทิสดให้สั่งมะพร้าวขูดขาว (ขูดไม่ติดกะลามะพร้าว) และให้แม่ค้าคั้นแบบไม่ใส่น้ำ จะได้หัวกะทิข้นๆ เมื่อได้มาแล้ว หากยังไม่ทำทันทีให้นำหัวกะทิที่ซื้อมาตั้งไฟอ่อนพอให้กะทิร้อนประมาณ 80องศาเซลเซียสเพื่อฆ่าเชื้อโรคก่อน มิเช่นนั้นกะทิจะบูดเสียก่อน

ขนมสูตรนี้บอกเลยว่าอร่อยแถมดีต่อสุขภาพอีกด้วย อย่าง "พายบีทรูทเม็ดมะม่วงหิมพานต์" ตัวฐานทำจากเม็ดมะม่วงหิมพานต์นำมาปั่นให้ละเอียดด้วยเครื่องปั่นอาหาร เติมรสชาติด้วยฟิกซ์ ผงโกโก้ อบเชยป่น และเกลือ ปั่นให้เข้ากันอีกครั้งจากนั้นค่อยนำไปกรุในพิมพ์แล้วแช่ตู่เย็นสักประมาณ 1 ชั่วโมง ส่วนตัวไส้ทำจากเนื้อบีทรูท มะพร้าวขูดขาว น้ำตาลทรายแดง และเมเปิลไซรัป นำไปผสมกับเนยถั่วที่เกิดจากการนำเม็ดมะม่วงหิมพานต์มาปั่นกับน้ำมันมะพร้าวจนเนียนข้น ใส่เจลลลาตินที่เตรียมไว้ผสมให้เข้ากัน ก่อนเทใส่ฐานที่เตรียมไว้ แช่ในตู้เย็นให้เซ็ตตัวก่อนตัดกิน

ขนมต้มแดง เป็นขนมโบราณดังเดิม เป็นการนวดแป้งข้าวเหนียวกับน้ำให้เข้ากันจนปั้นเป็นก้อนได้ จากนั้นนำไปต้มให้แป้งสุก ส่วนตัวหน้ากระฉีกนั้นเป็นการเคี่ยวน้ำตาลมะพร้าว น้ำ และเกลือ ให้ส่วนผสมทุกอย่างละลายและเดือดเข้ากันดี จึงค่อยใส่มะพร้าวขูด เคี่ยวต่อจนส่วนผสมงวด ก่อนจะเอามาราดหรือจะนำเอาแป้งที่ต้มสุ่กแล้วลงเคล้าให้เคลือบตัวแป้งจนทั่วก็ได้เช่นกัน

ซุปธัญพืชแสนอร่อย อิ่มท้อง มีประโยชน์ ขั้นตอนการทำก็ไม่ยากเท่าไรโดยนำถั่วแดงไปคั่วในกระทะ จากนั้นนำไปล้างน้ำแล้วแช่ทิ้งไว้ข้ามคืน ล้างน้ำอีกรอบก่อนนำไปต้มให้สุกนุ่ม ใส่รากบัว ปรุงรสด้วยน้ำตาล จากนั้นค่อยใส่เม็ดบัวเป็นอย่างสุดท้าย ต้มจนสุก เสิร์ฟร้อนๆหรือจะนำแช่ตู้เย็นแล้วทานก็ได้เช่นกัน

อาหารเช้าง่ายๆแถมคุณประโยชน์มากมายอย่าง "ข้าวต้มเม็ดบัวกับเก๋าคี่" ที่มีทั้งแครอท เห็ดหอม เม็ดบัว เก๋าคี่ ที่เต็มไปด้วยคุณประโยชน์ทั้งนั้น ที่บอกว่าง่ายก็คือแค่ต้มส่วนผสมทั้งหมดลงในหม้อจนส่วนผสมทุกอย่างสุก ปรุงรสแค่เกลือและซีอิ๊วเล็กน้อยเพิ่มความหอมด้วยน้ำมันงา โรยด้วยผักชีและพริกไทยดำ แค่นี้ก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อยแล้ว

หัวไชเท้าเอามาทำเมนูได้หลากหลาย อย่างเมนูนี้ชาวพม่านำมายำเคล้ากับเครื่องอย่างน้ำตาล เกลือ และงาดำคั่ว และโรยหอมเจียวก่อนกิน เคล็ดลับที่จะทำให้หัวไชเท้ามีรสชาติอร่อย (ไม่เผ็ดเมื่อเวลากินดิบ) คือ จะนำหัวไช้เท้าที่เตรียมเรียบร้อยมาเคล้ากับเกลือ ทิ้งไว้สักพัก จากนั้นบีบเอาน้ำที่คายออกมาออกให้หมด แล้วนำไปเคล้ากับน้ำส้มสายชูทิ้งไว้สัก 1 คืน ก่อนนำมาปรุงรสตามส่วนผสมข้างต้น เท่านี้ก็ได้ยำหัวไช้เท้าอร่อยกินแล้ว

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

ขนมหวานหน้าร้อนต้องยกให้ข้าวเหนียวมะม่วง ข้าวเหนียวสุกนุ่มมูนกับกะทิสดหอมๆ หวานเค็มมันกำลังดี กินกับมะม่วงสุกที่หาได้ในฤดูร้อน เช่น มะม่วงน้ำดอกไม้ อกร่อง เขียวเสวย ฯลฯ เลือกใช้ข้าวเหนียวเขี้ยวงูสายพันธุ์เชียงราย เมล็ดข้าวเรียวยาว เคล็ดลับคือ การเตรียมข้าวเหนียวให้ถูกต้องก่อน ข้อแรกคือเราต้องรู้ว่าข้าวเหนียวที่ใช้เก่าหรือใหม่เพื่อที่จะแช่ข้าวเหนียวให้พอดี ข้อสองคือการล้างเอายางข้าวออกเพื่อให้มูนแล้วเมล็ดข้าววาวใส ส่วนกะทิที่มูนถ้าจะให้ดี ควรใช้กะทิสดจะหอมมันกว่ากะทิกล่องเป็นไหนๆ วิธีเลือกกะทิสดให้สั่งมะพร้าวขูดขาว (ขูดไม่ติดกะลามะพร้าว) และให้แม่ค้าคั้นแบบไม่ใส่น้ำ จะได้หัวกะทิข้นๆ เมื่อได้มาแล้ว หากยังไม่ทำทันทีให้นำหัวกะทิที่ซื้อมาตั้งไฟอ่อนพอให้กะทิร้อนประมาณ 80องศาเซลเซียสเพื่อฆ่าเชื้อโรคก่อน มิเช่นนั้นกะทิจะบูดเสียก่อน

ขนมสูตรนี้บอกเลยว่าอร่อยแถมดีต่อสุขภาพอีกด้วย อย่าง "พายบีทรูทเม็ดมะม่วงหิมพานต์" ตัวฐานทำจากเม็ดมะม่วงหิมพานต์นำมาปั่นให้ละเอียดด้วยเครื่องปั่นอาหาร เติมรสชาติด้วยฟิกซ์ ผงโกโก้ อบเชยป่น และเกลือ ปั่นให้เข้ากันอีกครั้งจากนั้นค่อยนำไปกรุในพิมพ์แล้วแช่ตู่เย็นสักประมาณ 1 ชั่วโมง ส่วนตัวไส้ทำจากเนื้อบีทรูท มะพร้าวขูดขาว น้ำตาลทรายแดง และเมเปิลไซรัป นำไปผสมกับเนยถั่วที่เกิดจากการนำเม็ดมะม่วงหิมพานต์มาปั่นกับน้ำมันมะพร้าวจนเนียนข้น ใส่เจลลลาตินที่เตรียมไว้ผสมให้เข้ากัน ก่อนเทใส่ฐานที่เตรียมไว้ แช่ในตู้เย็นให้เซ็ตตัวก่อนตัดกิน

ขนมต้มแดง เป็นขนมโบราณดังเดิม เป็นการนวดแป้งข้าวเหนียวกับน้ำให้เข้ากันจนปั้นเป็นก้อนได้ จากนั้นนำไปต้มให้แป้งสุก ส่วนตัวหน้ากระฉีกนั้นเป็นการเคี่ยวน้ำตาลมะพร้าว น้ำ และเกลือ ให้ส่วนผสมทุกอย่างละลายและเดือดเข้ากันดี จึงค่อยใส่มะพร้าวขูด เคี่ยวต่อจนส่วนผสมงวด ก่อนจะเอามาราดหรือจะนำเอาแป้งที่ต้มสุ่กแล้วลงเคล้าให้เคลือบตัวแป้งจนทั่วก็ได้เช่นกัน

ซุปธัญพืชแสนอร่อย อิ่มท้อง มีประโยชน์ ขั้นตอนการทำก็ไม่ยากเท่าไรโดยนำถั่วแดงไปคั่วในกระทะ จากนั้นนำไปล้างน้ำแล้วแช่ทิ้งไว้ข้ามคืน ล้างน้ำอีกรอบก่อนนำไปต้มให้สุกนุ่ม ใส่รากบัว ปรุงรสด้วยน้ำตาล จากนั้นค่อยใส่เม็ดบัวเป็นอย่างสุดท้าย ต้มจนสุก เสิร์ฟร้อนๆหรือจะนำแช่ตู้เย็นแล้วทานก็ได้เช่นกัน

อาหารเช้าง่ายๆแถมคุณประโยชน์มากมายอย่าง "ข้าวต้มเม็ดบัวกับเก๋าคี่" ที่มีทั้งแครอท เห็ดหอม เม็ดบัว เก๋าคี่ ที่เต็มไปด้วยคุณประโยชน์ทั้งนั้น ที่บอกว่าง่ายก็คือแค่ต้มส่วนผสมทั้งหมดลงในหม้อจนส่วนผสมทุกอย่างสุก ปรุงรสแค่เกลือและซีอิ๊วเล็กน้อยเพิ่มความหอมด้วยน้ำมันงา โรยด้วยผักชีและพริกไทยดำ แค่นี้ก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อยแล้ว

หัวไชเท้าเอามาทำเมนูได้หลากหลาย อย่างเมนูนี้ชาวพม่านำมายำเคล้ากับเครื่องอย่างน้ำตาล เกลือ และงาดำคั่ว และโรยหอมเจียวก่อนกิน เคล็ดลับที่จะทำให้หัวไชเท้ามีรสชาติอร่อย (ไม่เผ็ดเมื่อเวลากินดิบ) คือ จะนำหัวไช้เท้าที่เตรียมเรียบร้อยมาเคล้ากับเกลือ ทิ้งไว้สักพัก จากนั้นบีบเอาน้ำที่คายออกมาออกให้หมด แล้วนำไปเคล้ากับน้ำส้มสายชูทิ้งไว้สัก 1 คืน ก่อนนำมาปรุงรสตามส่วนผสมข้างต้น เท่านี้ก็ได้ยำหัวไช้เท้าอร่อยกินแล้ว

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

ขนมหวานหน้าร้อนต้องยกให้ข้าวเหนียวมะม่วง ข้าวเหนียวสุกนุ่มมูนกับกะทิสดหอมๆ หวานเค็มมันกำลังดี กินกับมะม่วงสุกที่หาได้ในฤดูร้อน เช่น มะม่วงน้ำดอกไม้ อกร่อง เขียวเสวย ฯลฯ เลือกใช้ข้าวเหนียวเขี้ยวงูสายพันธุ์เชียงราย เมล็ดข้าวเรียวยาว เคล็ดลับคือ การเตรียมข้าวเหนียวให้ถูกต้องก่อน ข้อแรกคือเราต้องรู้ว่าข้าวเหนียวที่ใช้เก่าหรือใหม่เพื่อที่จะแช่ข้าวเหนียวให้พอดี ข้อสองคือการล้างเอายางข้าวออกเพื่อให้มูนแล้วเมล็ดข้าววาวใส ส่วนกะทิที่มูนถ้าจะให้ดี ควรใช้กะทิสดจะหอมมันกว่ากะทิกล่องเป็นไหนๆ วิธีเลือกกะทิสดให้สั่งมะพร้าวขูดขาว (ขูดไม่ติดกะลามะพร้าว) และให้แม่ค้าคั้นแบบไม่ใส่น้ำ จะได้หัวกะทิข้นๆ เมื่อได้มาแล้ว หากยังไม่ทำทันทีให้นำหัวกะทิที่ซื้อมาตั้งไฟอ่อนพอให้กะทิร้อนประมาณ 80องศาเซลเซียสเพื่อฆ่าเชื้อโรคก่อน มิเช่นนั้นกะทิจะบูดเสียก่อน

ขนมสูตรนี้บอกเลยว่าอร่อยแถมดีต่อสุขภาพอีกด้วย อย่าง "พายบีทรูทเม็ดมะม่วงหิมพานต์" ตัวฐานทำจากเม็ดมะม่วงหิมพานต์นำมาปั่นให้ละเอียดด้วยเครื่องปั่นอาหาร เติมรสชาติด้วยฟิกซ์ ผงโกโก้ อบเชยป่น และเกลือ ปั่นให้เข้ากันอีกครั้งจากนั้นค่อยนำไปกรุในพิมพ์แล้วแช่ตู่เย็นสักประมาณ 1 ชั่วโมง ส่วนตัวไส้ทำจากเนื้อบีทรูท มะพร้าวขูดขาว น้ำตาลทรายแดง และเมเปิลไซรัป นำไปผสมกับเนยถั่วที่เกิดจากการนำเม็ดมะม่วงหิมพานต์มาปั่นกับน้ำมันมะพร้าวจนเนียนข้น ใส่เจลลลาตินที่เตรียมไว้ผสมให้เข้ากัน ก่อนเทใส่ฐานที่เตรียมไว้ แช่ในตู้เย็นให้เซ็ตตัวก่อนตัดกิน

ขนมต้มแดง เป็นขนมโบราณดังเดิม เป็นการนวดแป้งข้าวเหนียวกับน้ำให้เข้ากันจนปั้นเป็นก้อนได้ จากนั้นนำไปต้มให้แป้งสุก ส่วนตัวหน้ากระฉีกนั้นเป็นการเคี่ยวน้ำตาลมะพร้าว น้ำ และเกลือ ให้ส่วนผสมทุกอย่างละลายและเดือดเข้ากันดี จึงค่อยใส่มะพร้าวขูด เคี่ยวต่อจนส่วนผสมงวด ก่อนจะเอามาราดหรือจะนำเอาแป้งที่ต้มสุ่กแล้วลงเคล้าให้เคลือบตัวแป้งจนทั่วก็ได้เช่นกัน

ซุปธัญพืชแสนอร่อย อิ่มท้อง มีประโยชน์ ขั้นตอนการทำก็ไม่ยากเท่าไรโดยนำถั่วแดงไปคั่วในกระทะ จากนั้นนำไปล้างน้ำแล้วแช่ทิ้งไว้ข้ามคืน ล้างน้ำอีกรอบก่อนนำไปต้มให้สุกนุ่ม ใส่รากบัว ปรุงรสด้วยน้ำตาล จากนั้นค่อยใส่เม็ดบัวเป็นอย่างสุดท้าย ต้มจนสุก เสิร์ฟร้อนๆหรือจะนำแช่ตู้เย็นแล้วทานก็ได้เช่นกัน

อาหารเช้าง่ายๆแถมคุณประโยชน์มากมายอย่าง "ข้าวต้มเม็ดบัวกับเก๋าคี่" ที่มีทั้งแครอท เห็ดหอม เม็ดบัว เก๋าคี่ ที่เต็มไปด้วยคุณประโยชน์ทั้งนั้น ที่บอกว่าง่ายก็คือแค่ต้มส่วนผสมทั้งหมดลงในหม้อจนส่วนผสมทุกอย่างสุก ปรุงรสแค่เกลือและซีอิ๊วเล็กน้อยเพิ่มความหอมด้วยน้ำมันงา โรยด้วยผักชีและพริกไทยดำ แค่นี้ก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อยแล้ว

หัวไชเท้าเอามาทำเมนูได้หลากหลาย อย่างเมนูนี้ชาวพม่านำมายำเคล้ากับเครื่องอย่างน้ำตาล เกลือ และงาดำคั่ว และโรยหอมเจียวก่อนกิน เคล็ดลับที่จะทำให้หัวไชเท้ามีรสชาติอร่อย (ไม่เผ็ดเมื่อเวลากินดิบ) คือ จะนำหัวไช้เท้าที่เตรียมเรียบร้อยมาเคล้ากับเกลือ ทิ้งไว้สักพัก จากนั้นบีบเอาน้ำที่คายออกมาออกให้หมด แล้วนำไปเคล้ากับน้ำส้มสายชูทิ้งไว้สัก 1 คืน ก่อนนำมาปรุงรสตามส่วนผสมข้างต้น เท่านี้ก็ได้ยำหัวไช้เท้าอร่อยกินแล้ว

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี
Recommended Videos