เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่
Serves
54 ชิ้น
Level
2
กูแชร์ (Gouge`res) ถือเป็นของว่างอย่างหนึ่ง บางครั้งก็จะถูกเรียกว่าเอแคลร์ไส้คาว แป้งที่อบพองๆ พาครึ่งแบ่งออกเป็นส่วนฐานกับสวนฝา ไส้ด้านในทำได้หลากหลายทั้งไส้ผักโขม ไส้แฮม เป็นต้น หรือบางสูตรอาจจะโรยชีสบนแป้งก่อนนำไปอบได้ด้วย รสชาติก็จะเค็มๆมันๆ อร่อยกินเป็นของว่างยามบ่ายได้เลย
INGREDIENTS
แป้งเค้ก
150 กรัม
น้ำ
150 กรัม
นมสดชนิดจืด
100 กรัม
เนยสดชนิดจืด
100 กรัม
เกลือป่น
3 กรัม
ไข่ไก่ตีพอเข้ากัน
5 ฟอง
เนยสดชนิดจืด
50 กรัม
หอมใหญ่สับละเอียด
½ ถ้วย
แป้งสาลีอเนกประสงค์
50 กรัม
นมสดชนิดจืด
500 กรัม
แฮมสับละเอียด
150 กรัม
พาร์สเลย์สับละเอียด
1 ช้อนโต๊ะ
เกลือป่น พริกไทยขาวป่นอย่างละ
½ ช้อนชา
ลูกจันทน์ป่นปริมาณตามชอบพาร์สเลย์สับละเอียดสำหรับตกแต่ง
อุปกรณ์ ถุงบีบ, หัวบีบกลมขนาด 6 มม., ถาดอบและกระดาษไข, หัวบีบกลมขนาด 4 มม.สำหรับบีบไส้
METHOD
1. ทำแป้งชูส์โดยอุ่นเตาอบที่อุณหภูมิ180องศาเซลเซียส ปูกระดาษไขในถาดอบ และร่อนแป้งเค้กสองรอบ พักไว้
2. ใส่น้ำ นมสด เนย และเกลือป่น ลงในหม้อปิดฝาหม้อ ยกขึ้นตั้งบนไฟกลาง พอเดือดเปิดฝาเทแป้งที่ร่อนไว้ใส่ลงในหม้อ ใช้พายไม้คนให้เข้ากัน ลดเป็นไฟอ่อน คนจนแป้งล่อนออกจากข้างหม้อ ประมาณ 1 นาที ยกลงเทแป้งใส่อ่างผสม ค่อยๆใส่ไข่ไก่ทีละน้อยคนจนไข่ไก่ซึมเข้าเนื้อแป้ง แล้วจึงทยอยใส่ไข่ไก่(ไม่จำเป็นต้องใส่ไข่ไก่ทั้งหมด) ทำเช่นนี้จนแป้งเหลวได้ที่ สังเกตโดยเมื่อใช้พายไม้ตักแป้งขึ้นมาแล้วแป้งไหลเป็นทรงตัววี ตักแป้งชูส์ใส่ถุงบีบหัวบีบกลม
3. บีบแป้งชูส์บนถาดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 ซม. นำเข้าอบในเตาอบที่อุ่นไว้อบนาน 22 นาที หรือจนแป้งสุก (10 นาทีสุดท้ายเปิดฝาเตาอบแง้มไว้ประมาณ 1 ซม. ให้ไอน้ำระเหยออกจากด้านในเตา แป้งชูส์จะกลวงและแห้งขึ้น) สังเกตจากรอยแตกด้านบนแป้งชูส์เป็นสีน้ำตาล (หากรอยแตกเป็นสีเหลืองอ่อนแสดงว่าด้านในยังไม่แห้ง เมื่อนำออกจากเตาอบแป้งชูส์จะยุบตัว) นำออกจากเตาอบ พักไว้บนตะแกรง
4. ทำไส้แฮมซอสขาวโดยตั้งกระทะบนไฟกลางใส่เนยกับหอมใหญ่ลงผัดจนสุก นุ่ม ใส่แป้งสาลีผัดจนสุกทั่ว ค่อยๆใส่นมสดทีละน้อย ใช้ตะกร้อคนจนเป็นเนื้อเดียวกัน ใส่แฮมและพาร์สเลย์สับรอจนซอสเดือดข้น ปรุงรสด้วยเกลือ พริกไทยและลูกจันทน์ป่น เทใส่ชาม พักไว้จนเย็นสนิท
5. จัดเสิร์ฟโดยตักไส้แฮมซอสขาวใส่ถุงบีบใช้ปลายหัวบีบเจาะแป้งชูส์ด้านบนเป็นช่อง บีบไส้แฮมซอสขาวที่เตรียมไว้ใส่จนเต็ม จัดใส่จานตกแต่งด้วยพาร์สเลย์สับ
Tips สับหอมใหญ่และแฮมให้ละเอียดเพื่อตอนบีบไส้จะไม่ติดภายในหัวบีบ
Recommended Articles
มันม่วงญี่ปุ่นเป็นพืชเติบโตง่ายในแถบเอเชีย แต่ละประเทศมีวิธีกินต่างกันไป เช่น ต้ม เผา นึ่งกินทั้งหัว หรือทำขนมต่างๆ หากพูดถึงประเทศที่ใช้มันม่วงญี่ปุ่นทำขนมมากที่สุด คงนึกถึงประเทศญี่ปุ่นเพราะใช้ทำขนมสไตล์วากาชิและโยกาชิ (วากาชิคือขนมดั้งเดิมของญี่ปุ่น โยกาชิคือขนมญี่ปุ่นสไตล์ฝรั่ง) โดยนิยมใช้ทั้งมันญี่ปุ่นสีม่วงและสีเหลือง เราขอแนะนำ “ทาร์ตมันม่วง” ของฝากขึ้นชื่อจากโอกินาวา อันเป็นแหล่งปลูกมันม่วงชั้นดี ปัจจุบันหาซื้อมันม่วงญี่ปุ่นได้ตามซูเปอร์มาร์เกตทั่วไป อีกทั้งสูตรนี้ยังทำง่าย มีรสหวานและกลิ่นหอมของมันถ้าจะให้ดีลองใช้น้ำตาลทรายแดงซึ่งเป็นของขึ้นชื่ออีกอย่างของโอกินาวา จะทำให้ทาร์ตมีรสหวานกลมกล่อมยิ่งขึ้น
กระแสครัวซองต์กำลังมาแรง Krua.co เลยไม่รอช้าขอเปิดครัว ชวนทุกคนมาเรียนรู้การทำครัวซองต์ ไปด้วยกัน โดยเริ่มตั้งแต่อุปกรณ์พื้นฐานที่คนทำครัวซองต์ควรจะมี ต่อมาด้วยส่วนผสมหลักของการทำครัวซองต์ และหลังจากนั้นก็เริ่มทำครัวซองต์ โดยครัวซองต์สูตรนี้มีความบางกรอบ เหนียวนุ่ม และมีรสสัมผัสที่เด่นชัดจาการที่หมักแป้งโดว์ไว้ในเวลาที่พอเหมาะก่อนนำมาพับขึ้นรูป
มีลเฟย(Millefeuille) ขนมที่แปลตรงตัวเลยก็คือขนมใบไม้พันใบ เป็นขนมที่ใช้แป้งพัฟฟ์เพสทรี มาอบให้แบนจากนั้นก็วางสลับชั้นกับครีมคัสตาร์ด ตกแต่งด้วยผลไม่ตระกูลเบอร์รีต่างๆ โรยด้วยไอซิ่งเล็กน้อยให้หน้าตาส่วยงาม ความพิถีพิถันของขนมชนิดนี้เริ่มตั้งแต่การเตรียมแป้งพัฟฟ์ ต้องรีดแป้งพัฟฟ์ให้บางกำลังพอดี จากนั้นก็โรยน้ำตาลเล็กน้อยเพื่อให้แป้งพฟฟ์มีรสชาติ แล้วจึงนำไปอบโดยใช้ถาดที่มีน้ำหนักวางทับไปบนแป้งพัฟฟ์ อบให้ได้สีที่ส่วยงาม ก่อนจะนำมาตัดแป้งให้ได้ขนาดที่ต้องการ ต่อจากนั้นก็บีบครีมที่ละชั้นวางทับกันขึ้นไปประมาณ 3 ชั้น ก่อนจะตกแต่งด้วยผลไม้ แล้วจึงเสิร์ฟ
ปารีสเบรสต์ (Paris-Brest) ขนมรูปวงล้อ ที่มีที่มาที่ไปจากเป็นขนมที่ถูกทำขึ้นเพื่อเป็นการรำลึกถึงการแข่งขันจักรยานระหว่างเมืองปารีส – เมืองเบรสต์ รูปทรงขนมจึงเป็นเหมือนวงล้อและมีรูตรงกลางคล้ายล้อรถจักรยาน และยังได้ยินมาอีกว่าขนมชนิดนี้จะเสิร์ฟให้กับนักแข่งทุกคนที่เข้าเส้นชัย ซึ่งดังเดิมจะเป็นไส้อัลมอนด์พราลีน หรืออัลมอนด์คาราเมล แล้วนำไปปั่นให้เกิดเป็นเพลส จากนั้นก็นำไปผสมกับครีมคัสตาร์ด แล้วโรยด้วยอัลมอนด์เคลือบคาราเมลอีกรอบ แต่ในสูตรที่ให้นั้นไม่ต้องทำอัลมอนด์พราลีนให้ยุ่งยาก ทำครีมคัสตาร์ดช็อกโกแลตธรรมดา จากนั้นก็อบตัวแป้ง แปะทับด้านบนแป้งด้วยแครกเกอลีน และโรยด้วยอัลมอนด์ จากนั้นก็นำเข้าอบ พอแป้งอบสุกแล้วก็พาครึ่งตามตามแนวขวางให้เป็นสองซีก บีบไส้ครีมช็อกโกแลตที่ทำไว้ เท่านี้ก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อย
มาดเเลน (Madeleines) ถือเป็นขนมพื้นเมืองจากเมืองกอแมร์ซีและลีแวร์เดิงซึ่งอยู่ในแคว้นกร็องแต็สต์ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฝรั่งเศส และเป็นขนมที่ทำไม่ยากเลย อุปกรณ์ก็ไม่ต้องเยอะ เพียงแค่พิมพ์สำหรับทำขนม ตะกร้อมือ อ่างผสม และเตาอบ เพียงแค่นี้ก็ทำขนมชนิดนี้ได้แล้ว เอกลักษณะของขนมชนิดนี้คือหอมเนยและอาจจะเพิ่มผิวเลมอนและน้ำเลมอนลงไปเล็กน้อยในเนื้อเค้ก เพื่อให้ได้รสชาติที่มีมิติมากยิ่งขึ้น แนะนำทำเสร็จกินกับชาร้อนๆ จะเข้ากันได้ดีเลยทีเดียว
ในญี่ปุ่น แกงกะหรี่เป็นอาหารที่ปรุงกินกันทั่วไปทั้งในโรงอาหารของโรงเรียนร้านอาหาร และครัวบ้าน โดยมีต้นกำเนิดมาจากผงกะหรี่สไตล์อังกฤษ (ซึ่งคนอังกฤษรับมาจากอินเดียและปรับรสให้เบาลง) แพร่หลายเข้ามาใน ช่วงทศวรรษที่ 1870 โดยเข้ามาในรูปแบบซุปข้นที่ใช้ขนมปังจิ้มกินคนญี่ปุ่นนำผงแกงกะหรี่ที่หวานและรสเบากว่าแบบต้นตำรับจากอินเดียนี้มาปรุงเข้าคู่กับอาหารประจำวันของตนคือข้าว ปัจจุบันเครื่องปรุงและรสชาติแกงกะหรี่นั้นหลากหลาย เครื่องปรุงมีทั้งเนื้อ หมู ไก่ อาหารทะเล แต่ละภูมิภาคก็มีเครื่องปรุงเฉพาะต่างกัน เช่น ที่คุมาโมโตมีแกงกะหรี่เนื้อม้า ฮอกไกโดมีแกงกะหรี่หมึกดำ ฮิโรชิมามีแกงกะหรี่หอยนางรม
มันม่วงญี่ปุ่นเป็นพืชเติบโตง่ายในแถบเอเชีย แต่ละประเทศมีวิธีกินต่างกันไป เช่น ต้ม เผา นึ่งกินทั้งหัว หรือทำขนมต่างๆ หากพูดถึงประเทศที่ใช้มันม่วงญี่ปุ่นทำขนมมากที่สุด คงนึกถึงประเทศญี่ปุ่นเพราะใช้ทำขนมสไตล์วากาชิและโยกาชิ (วากาชิคือขนมดั้งเดิมของญี่ปุ่น โยกาชิคือขนมญี่ปุ่นสไตล์ฝรั่ง) โดยนิยมใช้ทั้งมันญี่ปุ่นสีม่วงและสีเหลือง เราขอแนะนำ “ทาร์ตมันม่วง” ของฝากขึ้นชื่อจากโอกินาวา อันเป็นแหล่งปลูกมันม่วงชั้นดี ปัจจุบันหาซื้อมันม่วงญี่ปุ่นได้ตามซูเปอร์มาร์เกตทั่วไป อีกทั้งสูตรนี้ยังทำง่าย มีรสหวานและกลิ่นหอมของมันถ้าจะให้ดีลองใช้น้ำตาลทรายแดงซึ่งเป็นของขึ้นชื่ออีกอย่างของโอกินาวา จะทำให้ทาร์ตมีรสหวานกลมกล่อมยิ่งขึ้น
กระแสครัวซองต์กำลังมาแรง Krua.co เลยไม่รอช้าขอเปิดครัว ชวนทุกคนมาเรียนรู้การทำครัวซองต์ ไปด้วยกัน โดยเริ่มตั้งแต่อุปกรณ์พื้นฐานที่คนทำครัวซองต์ควรจะมี ต่อมาด้วยส่วนผสมหลักของการทำครัวซองต์ และหลังจากนั้นก็เริ่มทำครัวซองต์ โดยครัวซองต์สูตรนี้มีความบางกรอบ เหนียวนุ่ม และมีรสสัมผัสที่เด่นชัดจาการที่หมักแป้งโดว์ไว้ในเวลาที่พอเหมาะก่อนนำมาพับขึ้นรูป
มีลเฟย(Millefeuille) ขนมที่แปลตรงตัวเลยก็คือขนมใบไม้พันใบ เป็นขนมที่ใช้แป้งพัฟฟ์เพสทรี มาอบให้แบนจากนั้นก็วางสลับชั้นกับครีมคัสตาร์ด ตกแต่งด้วยผลไม่ตระกูลเบอร์รีต่างๆ โรยด้วยไอซิ่งเล็กน้อยให้หน้าตาส่วยงาม ความพิถีพิถันของขนมชนิดนี้เริ่มตั้งแต่การเตรียมแป้งพัฟฟ์ ต้องรีดแป้งพัฟฟ์ให้บางกำลังพอดี จากนั้นก็โรยน้ำตาลเล็กน้อยเพื่อให้แป้งพฟฟ์มีรสชาติ แล้วจึงนำไปอบโดยใช้ถาดที่มีน้ำหนักวางทับไปบนแป้งพัฟฟ์ อบให้ได้สีที่ส่วยงาม ก่อนจะนำมาตัดแป้งให้ได้ขนาดที่ต้องการ ต่อจากนั้นก็บีบครีมที่ละชั้นวางทับกันขึ้นไปประมาณ 3 ชั้น ก่อนจะตกแต่งด้วยผลไม้ แล้วจึงเสิร์ฟ
ปารีสเบรสต์ (Paris-Brest) ขนมรูปวงล้อ ที่มีที่มาที่ไปจากเป็นขนมที่ถูกทำขึ้นเพื่อเป็นการรำลึกถึงการแข่งขันจักรยานระหว่างเมืองปารีส – เมืองเบรสต์ รูปทรงขนมจึงเป็นเหมือนวงล้อและมีรูตรงกลางคล้ายล้อรถจักรยาน และยังได้ยินมาอีกว่าขนมชนิดนี้จะเสิร์ฟให้กับนักแข่งทุกคนที่เข้าเส้นชัย ซึ่งดังเดิมจะเป็นไส้อัลมอนด์พราลีน หรืออัลมอนด์คาราเมล แล้วนำไปปั่นให้เกิดเป็นเพลส จากนั้นก็นำไปผสมกับครีมคัสตาร์ด แล้วโรยด้วยอัลมอนด์เคลือบคาราเมลอีกรอบ แต่ในสูตรที่ให้นั้นไม่ต้องทำอัลมอนด์พราลีนให้ยุ่งยาก ทำครีมคัสตาร์ดช็อกโกแลตธรรมดา จากนั้นก็อบตัวแป้ง แปะทับด้านบนแป้งด้วยแครกเกอลีน และโรยด้วยอัลมอนด์ จากนั้นก็นำเข้าอบ พอแป้งอบสุกแล้วก็พาครึ่งตามตามแนวขวางให้เป็นสองซีก บีบไส้ครีมช็อกโกแลตที่ทำไว้ เท่านี้ก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อย
มาดเเลน (Madeleines) ถือเป็นขนมพื้นเมืองจากเมืองกอแมร์ซีและลีแวร์เดิงซึ่งอยู่ในแคว้นกร็องแต็สต์ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฝรั่งเศส และเป็นขนมที่ทำไม่ยากเลย อุปกรณ์ก็ไม่ต้องเยอะ เพียงแค่พิมพ์สำหรับทำขนม ตะกร้อมือ อ่างผสม และเตาอบ เพียงแค่นี้ก็ทำขนมชนิดนี้ได้แล้ว เอกลักษณะของขนมชนิดนี้คือหอมเนยและอาจจะเพิ่มผิวเลมอนและน้ำเลมอนลงไปเล็กน้อยในเนื้อเค้ก เพื่อให้ได้รสชาติที่มีมิติมากยิ่งขึ้น แนะนำทำเสร็จกินกับชาร้อนๆ จะเข้ากันได้ดีเลยทีเดียว
ในญี่ปุ่น แกงกะหรี่เป็นอาหารที่ปรุงกินกันทั่วไปทั้งในโรงอาหารของโรงเรียนร้านอาหาร และครัวบ้าน โดยมีต้นกำเนิดมาจากผงกะหรี่สไตล์อังกฤษ (ซึ่งคนอังกฤษรับมาจากอินเดียและปรับรสให้เบาลง) แพร่หลายเข้ามาใน ช่วงทศวรรษที่ 1870 โดยเข้ามาในรูปแบบซุปข้นที่ใช้ขนมปังจิ้มกินคนญี่ปุ่นนำผงแกงกะหรี่ที่หวานและรสเบากว่าแบบต้นตำรับจากอินเดียนี้มาปรุงเข้าคู่กับอาหารประจำวันของตนคือข้าว ปัจจุบันเครื่องปรุงและรสชาติแกงกะหรี่นั้นหลากหลาย เครื่องปรุงมีทั้งเนื้อ หมู ไก่ อาหารทะเล แต่ละภูมิภาคก็มีเครื่องปรุงเฉพาะต่างกัน เช่น ที่คุมาโมโตมีแกงกะหรี่เนื้อม้า ฮอกไกโดมีแกงกะหรี่หมึกดำ ฮิโรชิมามีแกงกะหรี่หอยนางรม
มันม่วงญี่ปุ่นเป็นพืชเติบโตง่ายในแถบเอเชีย แต่ละประเทศมีวิธีกินต่างกันไป เช่น ต้ม เผา นึ่งกินทั้งหัว หรือทำขนมต่างๆ หากพูดถึงประเทศที่ใช้มันม่วงญี่ปุ่นทำขนมมากที่สุด คงนึกถึงประเทศญี่ปุ่นเพราะใช้ทำขนมสไตล์วากาชิและโยกาชิ (วากาชิคือขนมดั้งเดิมของญี่ปุ่น โยกาชิคือขนมญี่ปุ่นสไตล์ฝรั่ง) โดยนิยมใช้ทั้งมันญี่ปุ่นสีม่วงและสีเหลือง เราขอแนะนำ “ทาร์ตมันม่วง” ของฝากขึ้นชื่อจากโอกินาวา อันเป็นแหล่งปลูกมันม่วงชั้นดี ปัจจุบันหาซื้อมันม่วงญี่ปุ่นได้ตามซูเปอร์มาร์เกตทั่วไป อีกทั้งสูตรนี้ยังทำง่าย มีรสหวานและกลิ่นหอมของมันถ้าจะให้ดีลองใช้น้ำตาลทรายแดงซึ่งเป็นของขึ้นชื่ออีกอย่างของโอกินาวา จะทำให้ทาร์ตมีรสหวานกลมกล่อมยิ่งขึ้น
กระแสครัวซองต์กำลังมาแรง Krua.co เลยไม่รอช้าขอเปิดครัว ชวนทุกคนมาเรียนรู้การทำครัวซองต์ ไปด้วยกัน โดยเริ่มตั้งแต่อุปกรณ์พื้นฐานที่คนทำครัวซองต์ควรจะมี ต่อมาด้วยส่วนผสมหลักของการทำครัวซองต์ และหลังจากนั้นก็เริ่มทำครัวซองต์ โดยครัวซองต์สูตรนี้มีความบางกรอบ เหนียวนุ่ม และมีรสสัมผัสที่เด่นชัดจาการที่หมักแป้งโดว์ไว้ในเวลาที่พอเหมาะก่อนนำมาพับขึ้นรูป
มีลเฟย(Millefeuille) ขนมที่แปลตรงตัวเลยก็คือขนมใบไม้พันใบ เป็นขนมที่ใช้แป้งพัฟฟ์เพสทรี มาอบให้แบนจากนั้นก็วางสลับชั้นกับครีมคัสตาร์ด ตกแต่งด้วยผลไม่ตระกูลเบอร์รีต่างๆ โรยด้วยไอซิ่งเล็กน้อยให้หน้าตาส่วยงาม ความพิถีพิถันของขนมชนิดนี้เริ่มตั้งแต่การเตรียมแป้งพัฟฟ์ ต้องรีดแป้งพัฟฟ์ให้บางกำลังพอดี จากนั้นก็โรยน้ำตาลเล็กน้อยเพื่อให้แป้งพฟฟ์มีรสชาติ แล้วจึงนำไปอบโดยใช้ถาดที่มีน้ำหนักวางทับไปบนแป้งพัฟฟ์ อบให้ได้สีที่ส่วยงาม ก่อนจะนำมาตัดแป้งให้ได้ขนาดที่ต้องการ ต่อจากนั้นก็บีบครีมที่ละชั้นวางทับกันขึ้นไปประมาณ 3 ชั้น ก่อนจะตกแต่งด้วยผลไม้ แล้วจึงเสิร์ฟ
ปารีสเบรสต์ (Paris-Brest) ขนมรูปวงล้อ ที่มีที่มาที่ไปจากเป็นขนมที่ถูกทำขึ้นเพื่อเป็นการรำลึกถึงการแข่งขันจักรยานระหว่างเมืองปารีส – เมืองเบรสต์ รูปทรงขนมจึงเป็นเหมือนวงล้อและมีรูตรงกลางคล้ายล้อรถจักรยาน และยังได้ยินมาอีกว่าขนมชนิดนี้จะเสิร์ฟให้กับนักแข่งทุกคนที่เข้าเส้นชัย ซึ่งดังเดิมจะเป็นไส้อัลมอนด์พราลีน หรืออัลมอนด์คาราเมล แล้วนำไปปั่นให้เกิดเป็นเพลส จากนั้นก็นำไปผสมกับครีมคัสตาร์ด แล้วโรยด้วยอัลมอนด์เคลือบคาราเมลอีกรอบ แต่ในสูตรที่ให้นั้นไม่ต้องทำอัลมอนด์พราลีนให้ยุ่งยาก ทำครีมคัสตาร์ดช็อกโกแลตธรรมดา จากนั้นก็อบตัวแป้ง แปะทับด้านบนแป้งด้วยแครกเกอลีน และโรยด้วยอัลมอนด์ จากนั้นก็นำเข้าอบ พอแป้งอบสุกแล้วก็พาครึ่งตามตามแนวขวางให้เป็นสองซีก บีบไส้ครีมช็อกโกแลตที่ทำไว้ เท่านี้ก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อย
มาดเเลน (Madeleines) ถือเป็นขนมพื้นเมืองจากเมืองกอแมร์ซีและลีแวร์เดิงซึ่งอยู่ในแคว้นกร็องแต็สต์ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฝรั่งเศส และเป็นขนมที่ทำไม่ยากเลย อุปกรณ์ก็ไม่ต้องเยอะ เพียงแค่พิมพ์สำหรับทำขนม ตะกร้อมือ อ่างผสม และเตาอบ เพียงแค่นี้ก็ทำขนมชนิดนี้ได้แล้ว เอกลักษณะของขนมชนิดนี้คือหอมเนยและอาจจะเพิ่มผิวเลมอนและน้ำเลมอนลงไปเล็กน้อยในเนื้อเค้ก เพื่อให้ได้รสชาติที่มีมิติมากยิ่งขึ้น แนะนำทำเสร็จกินกับชาร้อนๆ จะเข้ากันได้ดีเลยทีเดียว
ในญี่ปุ่น แกงกะหรี่เป็นอาหารที่ปรุงกินกันทั่วไปทั้งในโรงอาหารของโรงเรียนร้านอาหาร และครัวบ้าน โดยมีต้นกำเนิดมาจากผงกะหรี่สไตล์อังกฤษ (ซึ่งคนอังกฤษรับมาจากอินเดียและปรับรสให้เบาลง) แพร่หลายเข้ามาใน ช่วงทศวรรษที่ 1870 โดยเข้ามาในรูปแบบซุปข้นที่ใช้ขนมปังจิ้มกินคนญี่ปุ่นนำผงแกงกะหรี่ที่หวานและรสเบากว่าแบบต้นตำรับจากอินเดียนี้มาปรุงเข้าคู่กับอาหารประจำวันของตนคือข้าว ปัจจุบันเครื่องปรุงและรสชาติแกงกะหรี่นั้นหลากหลาย เครื่องปรุงมีทั้งเนื้อ หมู ไก่ อาหารทะเล แต่ละภูมิภาคก็มีเครื่องปรุงเฉพาะต่างกัน เช่น ที่คุมาโมโตมีแกงกะหรี่เนื้อม้า ฮอกไกโดมีแกงกะหรี่หมึกดำ ฮิโรชิมามีแกงกะหรี่หอยนางรม
Recommended Videos