เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่
Serves
8 พิมพ์
Level
2
ขนมไทยยอดฮิตในทั้งเด็กและผู้ใหญ่ เพราะสีสันสวยงามและมีรสชาติเค็มหวานตัดกันได้อย่างพอดี ทำให้เป็นขนมเพื่อสุขภาพโดยการใช้กะทิธัญพืชและน้ำตาลหญ้าหวานเป็นส่วนผสมหลัก
INGREDIENTS
กะทิธัญพืช
1 ถ้วย
น้ำ
1/2 ถ้วย
ผงวุ้น
1/2 ช้อนโต๊ะ
น้ำตาลหญ้าหวาน
1 ช้อนโต๊ะ
เกลือป่น
1/8 ช้อนชา
น้ำอุ่น
2 ถ้วย
อัญชันแห้ง
50 ดอก
ผงวุ้น
1/2 ช้อนโต๊ะ +1 ช้อนชา
น้ำตาลหญ้าหวาน
2 ช้อนโต๊ะ + 1/4 ช้อนชา
อุปกรณ์จำเป็น: พิมพ์วงกลม
เส้นผ่านศุนย์กลางขนาด 1 ½ นิ้ว
METHOD
1. ทำวุ้นกะทิโดยใส่น้ำลงในหม้อ โปรยผงวุ้นให้ทั่วผิวน้ำ ทิ้งไว้ 5 นาทีให้วุ้นอิ่มตัว ยกหม้อขึ้นตั้งบนไฟกลาง คนให้วุ้นละลายและเดือด (สังเกตวุ้นละลายโดยหลังทัพพีไม่มีเศษวุ้นเป็นเม็ด) ใส่กะทิและน้ำตาลหญ้าหวาน รอให้เดือดอีกครั้งและน้ำตาลละลาย ปิดไฟ ยกลง
2. เทวุ้นกะทิลงในพิมพ์ที่เตรียมไว้ประมาณครึ่งพิมพ์ พักไว้ให้
3. ทำวุ้นอัญชันโดยใส่ดอกอัญชันแห้งลงในน้ำอุ่น คั้นจนหมดสีที่กลีบดอกและน้ำเป็นสีน้ำเงินเข้ม กรองเอาแต่น้ำอัญชันใส่ลงในหม้อ โปรยผงวุ้นลงบนผิวน้ำอัญชันให้ทั่ว พักไว้ 5 นาที ยกหม้อขึ้นตั้งบนไฟกลาง คนจนผงวุ้นละลายดี (สังเกตที่หลังทัพพีไม่มีเศษวุ้นเป็นเม็ด) จากนั้นใส่น้ำตาลหญ้าหวาน คนให้น้ำตาลละลาย รอจนเดือดอีกครั้ง ปิดไฟ ยกลง
4. ตักส่วนผสมวุ้นอัญชันลงในพิมพ์ที่มีวุ้นกะทิอยู่แล้วจนเต็มพิมพ์ (วุ้นกะทิด้านล่างต้องเซตตัวกำลังดี ไม่แข็งจนเกินไป มิฉะนั้นวุ้น 2 ชั้นจะไม่ติดกัน)
5. นำวุ้นไปแช่เย็นจนเซตตัว แล้วเคาะออกจากพิมพ์ จัดใส่จาน เสิร์ฟ
สูตรอาหารโดย อรอนงค์ตาลประเสริฐ
Gallery
Recommended Articles
‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ
ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี
มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน
แป้งพัฟฟ์เป็นหนึ่งในเบเกอรีที่ยุ่งยาก ปัจจุบันมีขายแบบสำเร็จตามซุปเปอร์มาร์เก็ต เราเอามาทำขนมอย่างอื่นได้ง่ายอย่างเช่นนูเทลลาแพร์พัฟฟ์สูตรนี้ใช้แป้งพัฟฟ์สำเร็จรูปตัดให้เป็นกรอบสี่เหลี่ยม ทำคัสตาร์ดทูเทลลาใส่ด้านใน สไลซ์ลูกแพร์เชื่อมลงไป อบจนแป้งพัฟฟ์เหลืองกรอบ เป็นพัฟฟ์ของหวานกินกับชาร้อนได้เข้ากัน
ขนมไทยพื้นบ้านรสชาติอร่อยเรียบง่ายด้วยส่วนผสมไม่กี่อย่าง ได้แก่ มันสำปะหลังขูดหรือปั่นให้ละเอียด ผสมกับน้ำตาลทราย เกลือ และน้ำสะอาดหรือน้ำคั้นใบเตย ใส่ถาดนึ่งให้สุกจนเนื้อมันเปลี่ยนเป็นเหลืองใส แล้วนำมาตัดเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสคลุกกับมะพร้าวขูดที่เคล้าเกลือไว้เล็กน้อย เคล็ดลับความอร่อยอยู่ที่วัตถุดิบหลักคือ มันสำปะหลังพันธุ์ที่เรียกว่า ‘มัน 5 นาที’ เป็นพันธุ์ที่นิยมใช้ทำขนม
‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ
ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี
มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน
แป้งพัฟฟ์เป็นหนึ่งในเบเกอรีที่ยุ่งยาก ปัจจุบันมีขายแบบสำเร็จตามซุปเปอร์มาร์เก็ต เราเอามาทำขนมอย่างอื่นได้ง่ายอย่างเช่นนูเทลลาแพร์พัฟฟ์สูตรนี้ใช้แป้งพัฟฟ์สำเร็จรูปตัดให้เป็นกรอบสี่เหลี่ยม ทำคัสตาร์ดทูเทลลาใส่ด้านใน สไลซ์ลูกแพร์เชื่อมลงไป อบจนแป้งพัฟฟ์เหลืองกรอบ เป็นพัฟฟ์ของหวานกินกับชาร้อนได้เข้ากัน
ขนมไทยพื้นบ้านรสชาติอร่อยเรียบง่ายด้วยส่วนผสมไม่กี่อย่าง ได้แก่ มันสำปะหลังขูดหรือปั่นให้ละเอียด ผสมกับน้ำตาลทราย เกลือ และน้ำสะอาดหรือน้ำคั้นใบเตย ใส่ถาดนึ่งให้สุกจนเนื้อมันเปลี่ยนเป็นเหลืองใส แล้วนำมาตัดเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสคลุกกับมะพร้าวขูดที่เคล้าเกลือไว้เล็กน้อย เคล็ดลับความอร่อยอยู่ที่วัตถุดิบหลักคือ มันสำปะหลังพันธุ์ที่เรียกว่า ‘มัน 5 นาที’ เป็นพันธุ์ที่นิยมใช้ทำขนม
‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ
ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี
มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน
แป้งพัฟฟ์เป็นหนึ่งในเบเกอรีที่ยุ่งยาก ปัจจุบันมีขายแบบสำเร็จตามซุปเปอร์มาร์เก็ต เราเอามาทำขนมอย่างอื่นได้ง่ายอย่างเช่นนูเทลลาแพร์พัฟฟ์สูตรนี้ใช้แป้งพัฟฟ์สำเร็จรูปตัดให้เป็นกรอบสี่เหลี่ยม ทำคัสตาร์ดทูเทลลาใส่ด้านใน สไลซ์ลูกแพร์เชื่อมลงไป อบจนแป้งพัฟฟ์เหลืองกรอบ เป็นพัฟฟ์ของหวานกินกับชาร้อนได้เข้ากัน
ขนมไทยพื้นบ้านรสชาติอร่อยเรียบง่ายด้วยส่วนผสมไม่กี่อย่าง ได้แก่ มันสำปะหลังขูดหรือปั่นให้ละเอียด ผสมกับน้ำตาลทราย เกลือ และน้ำสะอาดหรือน้ำคั้นใบเตย ใส่ถาดนึ่งให้สุกจนเนื้อมันเปลี่ยนเป็นเหลืองใส แล้วนำมาตัดเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสคลุกกับมะพร้าวขูดที่เคล้าเกลือไว้เล็กน้อย เคล็ดลับความอร่อยอยู่ที่วัตถุดิบหลักคือ มันสำปะหลังพันธุ์ที่เรียกว่า ‘มัน 5 นาที’ เป็นพันธุ์ที่นิยมใช้ทำขนม
Recommended Videos