เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่

 

recipe

ข้าวโอ๊ตเปียกมะพร้าวอ่อน

Recipe by สำนักพิมพ์แสงแดด

Serves

8 คน

Level

2

ข้าวโอ๊ตเปียกหอมมะพร้าวอ่อน ราดด้วยกะทิที่เคี่ยวจนข้นเล็กน้อยรสเค็มๆอ่อนๆตัดกันได้ดีกับความหวานของข้าวโอ๊ตเปียก ขนมหม้อที่รับประกันได้ว่าทำเมื่อไรก็หมดเมื่อนั้นหากใครอยากใส่ธัญพืชอย่างอื่นก็ได้เช่นกัน อย่างสูตรนี้เพิ่มข้าวโพดหวานต้มและลูกเดือยเข้าไปด้วย

INGREDIENTS

ข้าวโอ๊ตอบชนิดแผ่น (100 กรัม)

1 ถ้วย

น้ำใบเตย

2 ถ้วย

(ต้มน้ำด้วยไฟแรงจนเดือดแล้วใส่ใบเตยหอมมัดเป็นปม ต้มจนมีกลิ่นหอม)

น้ำมะพร้าวอ่อน (มะพร้าวน้ำหอม)

2½ ถ้วย

น้ำตาลกรวดบด

100 กรัม

เนื้อมะพร้าวอ่อน ตักชิ้น

1 ลูก

ข้าวโพดหวานต้มฝานเมล็ด

1 ฝัก

ลูกเดือยต้มสุก

1 ถ้วย

แป้งเท้ายายม่อม

1 ช้อนโต๊ะ

แป้งมันสำปะหลัง

1 ช้อนโต๊ะ

น้ำดอกอัญชันปริมาณเล็กน้อย

กลีบดอกอัญชันสำหรับตกแต่ง

METHOD

1. ทำหัวกะทิโดยใส่หางกะทิลงในกระทะทอง ใส่เกลือ แล้วละลายแป้งเท้ายายม่อม แป้งมัน กับน้ำเล็กน้อยใส่ ใส่น้ำดอกอัญชันเล็กน้อย คนให้ทั่ว เปิดไฟอ่อน คนพอเดือดและข้น ใส่หัวกะทิคนพอทั่ว ปิดไฟ ตักใส่ถ้วย พักไว้

 

 

 

 

2. ใส่ข้าวโอ๊ตลงในหม้อน้ำใบเตย คนให้เข้ากันทั่ว ยกขึ้นตั้งบนไฟอ่อน ต้มนานประมาณ 5 นาที (ระหว่างต้มหมั่นคน) ต้มจนข้าวโอ๊ตสุกนุ่ม ปิดไฟ พักไว้

 

 

 

 

3. ต้มน้ำมะพร้าวอ่อนในกระทะทองด้วยไฟกลาง ใส่น้ำตาลกรวด ต้มจนน้ำตาลละลาย ใส่เนื้อมะพร้าวอ่อน พอเดือดใส่ข้าวโพดหวานต้มและลูกเดือยต้ม พอเดือดอีกครั้ง จึงเทใส่รวมกับข้าวโอ๊ตต้มในหม้อ ยกขึ้นตั้งบนไฟกลาง คนให้ทั่ว พอเดือด ละลายแป้งเท้ายายม่อม แป้งมัน กับน้ำเล็กน้อย ใส่ลงในหม้อ คนให้แป้งสุกข้นใส ปิดไฟ

 

 

 

 

4. ตักใส่ถ้วย ตักหัวกะทิราดหน้า ใส่น้ำดอกอัญชันเล็กน้อยตกแต่งด้วยกลีบดอกอัญชัน เสิร์ฟ

 

 

 

 

หมายเหตุ

 

 

 

 

     

  • ข้าวโอ๊ตเมื่อต้มสุกจะมีความข้น การทำ ข้าวโอ๊ตเปียกมะพร้าวอ่อนต้องใส่แป้งเท้ายายม่อมและแป้งมันช่วยเพิ่มความข้น เมื่อแป้งสุกจะใสและช่วยให้ความข้นอยู่ตัว ไม่คืนตัวเป็นน้ำ
  •  

Share this content

Tags:

ขนมหวาน, ขนมหวานไทย, ขนมไทย, ข้าวโอ๊ต, ต้านโรค, มะพร้าวอ่อน

Recommended Articles

Recipeน้อยหน่าน้ำกะทิ
น้อยหน่าน้ำกะทิ

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

 

Recipeขนมปลากริมไข่เต่า
ขนมปลากริมไข่เต่า

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

 

Recipeมะกรูดลอยแก้ว
มะกรูดลอยแก้ว

มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน

 

Recipeขนมปลากริมไข่เต่า
ขนมปลากริมไข่เต่า

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

 

Recipeมะกรูดลอยแก้ว
มะกรูดลอยแก้ว

มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน

 

Recipeขนมปลากริมไข่เต่า
ขนมปลากริมไข่เต่า

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

 

Recipeมะกรูดลอยแก้ว
มะกรูดลอยแก้ว

มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน

 

Recommended Videos