เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่
Serves
4 คน
Level
2
INGREDIENTS
นํ้ามันพืชสำหรับทอด
½ ถ้วย
ปลาอินทรีเค็ม (100 กรัม)
1 ชิ้น
นํ้ามันพืชสำหรับผัด
2 ช้อนโต๊ะ
กระเทียมไทยสับ
½ ช้อนโต๊ะ
เนื้อหมูสับ
100 กรัม
หอมใหญ่สับ
2 ช้อนโต๊ะ
นํ้าซุปไก่
¼ ถ้วย
นํ้ามันหอย
1 ช้อนโต๊ะ
ซอสปรุงรส
½ ช้อนโต๊ะ
นํ้าตาลทราย
½ ช้อนชา
ต้นหอมซอย
1 ต้น
ผักชีเด็ดใบสำหรับโรย
METHOD
1. ตั้งกระทะนํ้ามันสำหรับทอดบนไฟกลางพอร้อน ใส่ปลาเค็มลงทอดให้สุกเหลืองทั้งสองด้าน ตักขึ้นพัก ให้สะเด็ดนํ้ามัน
2. ตั้งกระทะอีกใบบนไฟกลาง ใส่นํ้ามันสำหรับผัดและกระเทียมลงเจียวพอใกล้เหลือง ใส่หมูสับ ผัดยีให้สุก ใส่หอมใหญ่ ผัดให้ทั่ว ใส่นํ้าซุป ปรุงรสด้วยนํ้ามันหอย ซอสปรุงรส นํ้าตาลทราย และต้นหอม เร่งเป็นไฟแรง ผัดเร็วๆให้เข้ากัน ปิดไฟ
3. จัดปลาเค็มใส่จาน ตักเครื่องที่ผัดราดบนปลาเค็ม โรยใบผักชี เสิร์ฟกับข้าวต้ม
Tags:
ทำกินทำขาย, ปลาทอด, ปลาเค็ม, ผัดหมูสับ, สูตรอาหารทำขาย, สูตรอาหารเป็นอาชีพ, หมูสับ, อร่อยเป็นอาชีพ, อาหารทำขาย, อาหารสร้างรายได้
Recommended Articles
ปลาเค็มทอดกะทิ เป็นเมนูเด็ดประจำ ‘ร้านยายปวด‘ ร้านอาหารพื้นเมืองเก่าแก่ของจังหวัดชุมพร เรียกว่าใครมาร้านยายปวดต้องสั่ง! ถ้าไม่สั่งถือว่ามาไม่ถึง! วัตถุดิบหลักๆ จะใช้ปลาอินทรีเค็มทอดมาเคี่ยวกับหัวกะทิจนแตกมัน เติมรสหวานด้วยน้ำตาลมะพร้าว ผัดจนเปลี่ยนสี รสจะออกหวานเค็มมัน หอมกลิ่นกะทิ กินคู่กับผักสด หอมแดง กระเทียมและพริกขี้หนูซอยคล้ายเมนูประเภทน้ำพริก ลักษณะหน้าตาถึงจะดูไม่เป็นรูปเป็นร่าง สีออกคล้ำๆ หน่อย แต่บอกเลยว่าอร่อยมาก
ปลาเค็มคุณภาพดีอย่างเช่นปลากุเลาเค็มเป็นทางเลือกที่ดีของเมนูนี้ แต่ถ้าหาไม่ได้ก็ใช้ปลาอินทรีย์เค็มได้เช่นกัน เลือกเจ้าที่สะอาด เค็มไม่มาก นำมาใช้ให้ล้างน้ำสักรอบหนึ่ง ซับให้แห้ง แล้วนำไปอบให้เนื้อปลาสุก แกะเอาแต่เนื้อปลาไว้ มีหลักอยู่ว่าได้ปลาเค็มเท่าไหร่ใส่หมูสับไปอีกเท่าตัว นำหมูสับกับปลาเค็มมาคั่วจนสุกแห้ง นำไปโขลกให้ละเอียดจนเนื้อปลาและหมูสับเป็นปุยๆ ใส่ลงกระทะไปคั่วอีกครั้งกับเครื่องปรุงได้แก่ ผงสามเกลอ (รากผักชี กระเทียม พริกไทย) และน้ำตาลทรายเอาไว้ตัดเค็ม หายร้อนแล้วเก็บใส่ขวดเข้าตู้เย็น เก็บไว้กินคลุกกับข้าวสวยร้อนๆ บีบมะนาวใส่หอมแดง พริกซอย รับรองอร่อยถูกใจ
ข้าวผัดคะน้าปลาเค็ม เป็นเมนูที่มีกลิ่นหอมหวลชวนน้ำลายสอมากๆ ถ้าใครชอบปลาเค็มก็ชอบเลย แต่ถ้าใครไม่ชอบ ก็คงจะเบียดหน้าหนีเลย จริงๆแล้วปลาเค็มเป็นวัฒธรรมการกินสมัยก่อนที่ปลานั้นจะเน่าเสียไว้ คนสมัยก่อนก็อยากจะเก็บปลาไว้กินนานๆ โดยการหมักดองเนื้อปลาด้วยเกลือ ทำให้อยู่ได้นาน และสามารถนำเอามาประกอบอาหารได้หลากหลายเมนูอีกด้วย
คำว่า ‘อั่ว’ หลายคนคงคุ้นเคยมากกว่าเมื่อมันห้อยท้ายมากับคำว่า ‘ไส้’ เพราะไส้อั่วเป็นอาหารเชิดหน้าชูตาของสำรับล้านนามานานนม ด้วยการปรุงกลิ่นรสให้หอมและเผ็ดร้อนจากสมุนไพรนานาชนิด การ ‘อั่ว’ หรือการยัดไส้อาหารนั้นแสดงให้เห็นความรุ่มรวย พิถีพิถันและประดิษฐ์ประดอยในครัวของทุกที่ ด้วยว่าอาหารยัดไส้นั้นใช้เวลาทำนานกว่า ไหนจะปรุงรสเนื้อสัตว์ ไหนจะเตรียมผัก ไส้สัตว์ หรือเนื้อสัตว์อื่นๆ ที่จะนำมายัด ทั้งกระบวนการทำก็ใช้เวลาและใช้แรงมากกว่าการนำมาแกง ผัด หรือลวกไวๆ นอกจากการแสดงถึงความรุ่มรวยแล้ว อาหารยัดไส้ยังเป็นความชาญฉลาดอย่างหนึ่ง เพราะเมื่อนำเนื้อสัตว์มาทำเป็นไส้แล้ว ไม่ว่าจะนำไปย่าง ไปทอด หรือไปต้ม ความหวานตามธรรมชาติจากน้ำของเนื้อสัตว์ก็จะถูกรักษาไว้ให้อยู่ภายใน ทำให้เนื้อสัตว์ที่ปรุงเป็นไส้ยังคงความฉ่ำไว้ ไม่แห้งกระด้างนั่นเอง
ปลาเค็มทอดกะทิ เป็นเมนูเด็ดประจำ ‘ร้านยายปวด‘ ร้านอาหารพื้นเมืองเก่าแก่ของจังหวัดชุมพร เรียกว่าใครมาร้านยายปวดต้องสั่ง! ถ้าไม่สั่งถือว่ามาไม่ถึง! วัตถุดิบหลักๆ จะใช้ปลาอินทรีเค็มทอดมาเคี่ยวกับหัวกะทิจนแตกมัน เติมรสหวานด้วยน้ำตาลมะพร้าว ผัดจนเปลี่ยนสี รสจะออกหวานเค็มมัน หอมกลิ่นกะทิ กินคู่กับผักสด หอมแดง กระเทียมและพริกขี้หนูซอยคล้ายเมนูประเภทน้ำพริก ลักษณะหน้าตาถึงจะดูไม่เป็นรูปเป็นร่าง สีออกคล้ำๆ หน่อย แต่บอกเลยว่าอร่อยมาก
ปลาเค็มคุณภาพดีอย่างเช่นปลากุเลาเค็มเป็นทางเลือกที่ดีของเมนูนี้ แต่ถ้าหาไม่ได้ก็ใช้ปลาอินทรีย์เค็มได้เช่นกัน เลือกเจ้าที่สะอาด เค็มไม่มาก นำมาใช้ให้ล้างน้ำสักรอบหนึ่ง ซับให้แห้ง แล้วนำไปอบให้เนื้อปลาสุก แกะเอาแต่เนื้อปลาไว้ มีหลักอยู่ว่าได้ปลาเค็มเท่าไหร่ใส่หมูสับไปอีกเท่าตัว นำหมูสับกับปลาเค็มมาคั่วจนสุกแห้ง นำไปโขลกให้ละเอียดจนเนื้อปลาและหมูสับเป็นปุยๆ ใส่ลงกระทะไปคั่วอีกครั้งกับเครื่องปรุงได้แก่ ผงสามเกลอ (รากผักชี กระเทียม พริกไทย) และน้ำตาลทรายเอาไว้ตัดเค็ม หายร้อนแล้วเก็บใส่ขวดเข้าตู้เย็น เก็บไว้กินคลุกกับข้าวสวยร้อนๆ บีบมะนาวใส่หอมแดง พริกซอย รับรองอร่อยถูกใจ
ข้าวผัดคะน้าปลาเค็ม เป็นเมนูที่มีกลิ่นหอมหวลชวนน้ำลายสอมากๆ ถ้าใครชอบปลาเค็มก็ชอบเลย แต่ถ้าใครไม่ชอบ ก็คงจะเบียดหน้าหนีเลย จริงๆแล้วปลาเค็มเป็นวัฒธรรมการกินสมัยก่อนที่ปลานั้นจะเน่าเสียไว้ คนสมัยก่อนก็อยากจะเก็บปลาไว้กินนานๆ โดยการหมักดองเนื้อปลาด้วยเกลือ ทำให้อยู่ได้นาน และสามารถนำเอามาประกอบอาหารได้หลากหลายเมนูอีกด้วย
คำว่า ‘อั่ว’ หลายคนคงคุ้นเคยมากกว่าเมื่อมันห้อยท้ายมากับคำว่า ‘ไส้’ เพราะไส้อั่วเป็นอาหารเชิดหน้าชูตาของสำรับล้านนามานานนม ด้วยการปรุงกลิ่นรสให้หอมและเผ็ดร้อนจากสมุนไพรนานาชนิด การ ‘อั่ว’ หรือการยัดไส้อาหารนั้นแสดงให้เห็นความรุ่มรวย พิถีพิถันและประดิษฐ์ประดอยในครัวของทุกที่ ด้วยว่าอาหารยัดไส้นั้นใช้เวลาทำนานกว่า ไหนจะปรุงรสเนื้อสัตว์ ไหนจะเตรียมผัก ไส้สัตว์ หรือเนื้อสัตว์อื่นๆ ที่จะนำมายัด ทั้งกระบวนการทำก็ใช้เวลาและใช้แรงมากกว่าการนำมาแกง ผัด หรือลวกไวๆ นอกจากการแสดงถึงความรุ่มรวยแล้ว อาหารยัดไส้ยังเป็นความชาญฉลาดอย่างหนึ่ง เพราะเมื่อนำเนื้อสัตว์มาทำเป็นไส้แล้ว ไม่ว่าจะนำไปย่าง ไปทอด หรือไปต้ม ความหวานตามธรรมชาติจากน้ำของเนื้อสัตว์ก็จะถูกรักษาไว้ให้อยู่ภายใน ทำให้เนื้อสัตว์ที่ปรุงเป็นไส้ยังคงความฉ่ำไว้ ไม่แห้งกระด้างนั่นเอง
ปลาเค็มทอดกะทิ เป็นเมนูเด็ดประจำ ‘ร้านยายปวด‘ ร้านอาหารพื้นเมืองเก่าแก่ของจังหวัดชุมพร เรียกว่าใครมาร้านยายปวดต้องสั่ง! ถ้าไม่สั่งถือว่ามาไม่ถึง! วัตถุดิบหลักๆ จะใช้ปลาอินทรีเค็มทอดมาเคี่ยวกับหัวกะทิจนแตกมัน เติมรสหวานด้วยน้ำตาลมะพร้าว ผัดจนเปลี่ยนสี รสจะออกหวานเค็มมัน หอมกลิ่นกะทิ กินคู่กับผักสด หอมแดง กระเทียมและพริกขี้หนูซอยคล้ายเมนูประเภทน้ำพริก ลักษณะหน้าตาถึงจะดูไม่เป็นรูปเป็นร่าง สีออกคล้ำๆ หน่อย แต่บอกเลยว่าอร่อยมาก
ปลาเค็มคุณภาพดีอย่างเช่นปลากุเลาเค็มเป็นทางเลือกที่ดีของเมนูนี้ แต่ถ้าหาไม่ได้ก็ใช้ปลาอินทรีย์เค็มได้เช่นกัน เลือกเจ้าที่สะอาด เค็มไม่มาก นำมาใช้ให้ล้างน้ำสักรอบหนึ่ง ซับให้แห้ง แล้วนำไปอบให้เนื้อปลาสุก แกะเอาแต่เนื้อปลาไว้ มีหลักอยู่ว่าได้ปลาเค็มเท่าไหร่ใส่หมูสับไปอีกเท่าตัว นำหมูสับกับปลาเค็มมาคั่วจนสุกแห้ง นำไปโขลกให้ละเอียดจนเนื้อปลาและหมูสับเป็นปุยๆ ใส่ลงกระทะไปคั่วอีกครั้งกับเครื่องปรุงได้แก่ ผงสามเกลอ (รากผักชี กระเทียม พริกไทย) และน้ำตาลทรายเอาไว้ตัดเค็ม หายร้อนแล้วเก็บใส่ขวดเข้าตู้เย็น เก็บไว้กินคลุกกับข้าวสวยร้อนๆ บีบมะนาวใส่หอมแดง พริกซอย รับรองอร่อยถูกใจ
ข้าวผัดคะน้าปลาเค็ม เป็นเมนูที่มีกลิ่นหอมหวลชวนน้ำลายสอมากๆ ถ้าใครชอบปลาเค็มก็ชอบเลย แต่ถ้าใครไม่ชอบ ก็คงจะเบียดหน้าหนีเลย จริงๆแล้วปลาเค็มเป็นวัฒธรรมการกินสมัยก่อนที่ปลานั้นจะเน่าเสียไว้ คนสมัยก่อนก็อยากจะเก็บปลาไว้กินนานๆ โดยการหมักดองเนื้อปลาด้วยเกลือ ทำให้อยู่ได้นาน และสามารถนำเอามาประกอบอาหารได้หลากหลายเมนูอีกด้วย
คำว่า ‘อั่ว’ หลายคนคงคุ้นเคยมากกว่าเมื่อมันห้อยท้ายมากับคำว่า ‘ไส้’ เพราะไส้อั่วเป็นอาหารเชิดหน้าชูตาของสำรับล้านนามานานนม ด้วยการปรุงกลิ่นรสให้หอมและเผ็ดร้อนจากสมุนไพรนานาชนิด การ ‘อั่ว’ หรือการยัดไส้อาหารนั้นแสดงให้เห็นความรุ่มรวย พิถีพิถันและประดิษฐ์ประดอยในครัวของทุกที่ ด้วยว่าอาหารยัดไส้นั้นใช้เวลาทำนานกว่า ไหนจะปรุงรสเนื้อสัตว์ ไหนจะเตรียมผัก ไส้สัตว์ หรือเนื้อสัตว์อื่นๆ ที่จะนำมายัด ทั้งกระบวนการทำก็ใช้เวลาและใช้แรงมากกว่าการนำมาแกง ผัด หรือลวกไวๆ นอกจากการแสดงถึงความรุ่มรวยแล้ว อาหารยัดไส้ยังเป็นความชาญฉลาดอย่างหนึ่ง เพราะเมื่อนำเนื้อสัตว์มาทำเป็นไส้แล้ว ไม่ว่าจะนำไปย่าง ไปทอด หรือไปต้ม ความหวานตามธรรมชาติจากน้ำของเนื้อสัตว์ก็จะถูกรักษาไว้ให้อยู่ภายใน ทำให้เนื้อสัตว์ที่ปรุงเป็นไส้ยังคงความฉ่ำไว้ ไม่แห้งกระด้างนั่นเอง
Recommended Videos