เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่
Serves
5 ชิ้น
Level
2
คนเมืองส่วนใหญ่เรียกกันสั้นๆว่า "เข้าต้ม" ถ้าใส่กล้วยน้ำว่าสุก "เข้าต้มกล้วย ถ้าใส่ถั่วลิส่งเรียก "เข้าต้มถั่วดิน"และถ้าโรยมะพร้าวขูดจะเรียก "เข้าต้มหัวหงอก" หรือที่รู้จักกันทั่วๆไปว่า ข้าวต้มหัวหงอก นั่นเอง นิยมทำทีละเยอะๆ หลายๆอันแล้วต้มพร้อมกันทีเดียวเพราะว่าใช้เวลาในการต้มนาน
INGREDIENTS
ข้าวสารข้าวเหนียว
500 กรัม
เกลือสมุทร
1 ช้อนชา
กล้วยน้ำว้าสุกงอมหั่นครึ่งตามยาว
5 ชิ้น
ใบตองขนาด 8×12 นิ้ว และ 7×8 นิ้ว อย่างละ 5 ชิ้น และตอกสำหรับมัดขนม
น้ำตาลทรายขาวและมะพร้าวทึนทึกขูดนึ่งสำหรับโรย
METHOD
1.ล้างทำความสะอาดข้าวเหนียวโดยซาวข้าวประมาณ 2-3 รอบ สะเด็ดข้าวผ่านกระชอน ใส่ลงในอ่างผสม ปรุงรสเกลือสมุทรคลุกเคล้าให้เข้ากัน
2.วางใบตองขนาด 8×12 นิ้วเอาด้านมันเงาลงด้านล่าง จากนั้นวางใบตองขนาด 7×8 นิ้ว โดยเอาด้านเงาไว้ด้านบน ตักข้าวเหนียว 3 ช้อนโต๊ะใส่บนใบตอง จากนั้นวางกล้วยน้ำว้าผ่าครึ่ง 1 ชิ้น (ถ้ากล้วยลูกใหญ่ ถ้ากล้วยลูกเล็กใส่ได้ทั้งลูก) ปิดด้วยข้าวเหนียวอีก 3 ช้อนโต๊ะ จับมุมใบตองพับเข้าหากัน ให้เป็นรูปสามเหลี่ยม พับปลายใบตองลงมาครึ่งหนึ่ง พับอีกทบให้แน่นดี และเริ่มจับจีบโดยให้จับข้าวต้มหัวหงอกตั้งขึ้น ใช้นิ้วชี้กดไขว้ใบตองไปทางซ้ายให้เป็นมุม จับอีกด้านพับลงมาตรงกลาง ทำทั้งหัวและท้าย จากนั้นทำอีกหนึ่งชิ้น เอา 2 ชิ้นมาประกบกัน ใช้ตอกมัดหัวท้ายอย่างละเส้น แล้วบิดปลายตอกเข้าหากันให้สวยงาม
3.ตั้งหม้อบนเตา ใส่ข้าวต้มที่ห่อไว้ ทับด้วยวัตถุมีน้ำหนักกดไว้ไม่ให้ข้าวต้มลอยขึ้นมา ใส่น้ำพอท่วม เปิดไฟกลางต้มนาน 2 ชั่วโมง หรือจนข้าวเหนียวสุกดี (ระหว่างต้มถ้าน้ำงวดก็ค่อยๆเติมน้ำลงไป)
4.นำขึ้นพักให้เย็น แกะใบตองออกแล้วหั่นเป็นชิ้นเสิร์ฟคู่กับน้ำตาลทรายขาวและมะพร้าวทึนทึกขูด
หมายเหตุ
- หากต้องการลดเวลาในการต้ม ให้แช่ข้าวเหนียวอย่างน้อย 3 ชั่วโมง หากเป็นข้าวเหนียวเก่าต้องอย่างน้อย 6 ชั่วโมง
- ต้องห่อขนมให้ปิดสนิทดี มิเช่นนั้นเวลาต้มน้ำจะเข้าไปในตัวขนมได้
- กล้วยที่เลือกใช้ก็ให้ใช้กล้วยที่มีความสุกพอดี ไม่สุกจนเกินไป สำหรับใครที่ชอบเนื้อกล้วยที่มีความไตๆ ข้างในเล็กน้อยให้ใช้กล้วยห่าม
- สามารถใส่ถั่วลิสงเพิ่มได้ โดยนำถั่วลิสงไปแช่น้ำก่อน 3-6 ชั่วโมง
Gallery
Tags:
Recommended Articles
‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ
ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี
ไส้อั่ว นับเป็นความชาญฉลาดของบรรพบุรุษชาวล้านนาอย่างหนึ่งในการใช้สอยทุกส่วนของหมูได้อย่างคุ้มค่า คำว่า “อั่ว” เป็นคำเมือง แปลว่า การแทรกหรือยัดไว้ตรงกลาง เมื่อนำเครื่องต่างๆยัดเข้าไปในไส้หมู จึงเรียกว่า ไส้อั่ว สูตรนี้เป็นสูตรไส้อั่วตับที่ใส่ตับเข้าไปเพิ่มความมันเเละนัว หอมกลิ่นพริกแกงเเละเครื่องสมุนไพรไทย ย่างจนสุกเกรียมหอม จนได้ออกมาเป็นไส้อั่วตับอร่อยๆ จะทำขาย ทำเเจกหรือทำไปฝากเพื่อนก็ได้
มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน
จิ้นแดง จิ้นเเห้งหรือจิ้นเกลือ คือ วิธีการถนอมอาหารของคนภาคเหนือ เเต่เดิมใช้เนื้อวัวทำให้ได้เนื้อที่มีสีเเดงเเต่ในปัจจุบันหันมาใช้เนื้อหมูมากขึ้น วิธีการทำคือสไลด์เนื้อสัตว์เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำมาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุงต่างๆ ใส่สีผสมอาหารเพื่อทำให้เนื้อมีสีเเดง จากนั้นนำไปตากแดดให้ได้ที่แล้วนำย่างบนเตาถ่านให้พอสุกเเละเเห้ง สามารถเก็บไว้ได้นาน
ขนมไทยพื้นบ้านรสชาติอร่อยเรียบง่ายด้วยส่วนผสมไม่กี่อย่าง ได้แก่ มันสำปะหลังขูดหรือปั่นให้ละเอียด ผสมกับน้ำตาลทราย เกลือ และน้ำสะอาดหรือน้ำคั้นใบเตย ใส่ถาดนึ่งให้สุกจนเนื้อมันเปลี่ยนเป็นเหลืองใส แล้วนำมาตัดเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสคลุกกับมะพร้าวขูดที่เคล้าเกลือไว้เล็กน้อย เคล็ดลับความอร่อยอยู่ที่วัตถุดิบหลักคือ มันสำปะหลังพันธุ์ที่เรียกว่า ‘มัน 5 นาที’ เป็นพันธุ์ที่นิยมใช้ทำขนม
‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ
ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี
ไส้อั่ว นับเป็นความชาญฉลาดของบรรพบุรุษชาวล้านนาอย่างหนึ่งในการใช้สอยทุกส่วนของหมูได้อย่างคุ้มค่า คำว่า “อั่ว” เป็นคำเมือง แปลว่า การแทรกหรือยัดไว้ตรงกลาง เมื่อนำเครื่องต่างๆยัดเข้าไปในไส้หมู จึงเรียกว่า ไส้อั่ว สูตรนี้เป็นสูตรไส้อั่วตับที่ใส่ตับเข้าไปเพิ่มความมันเเละนัว หอมกลิ่นพริกแกงเเละเครื่องสมุนไพรไทย ย่างจนสุกเกรียมหอม จนได้ออกมาเป็นไส้อั่วตับอร่อยๆ จะทำขาย ทำเเจกหรือทำไปฝากเพื่อนก็ได้
มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน
จิ้นแดง จิ้นเเห้งหรือจิ้นเกลือ คือ วิธีการถนอมอาหารของคนภาคเหนือ เเต่เดิมใช้เนื้อวัวทำให้ได้เนื้อที่มีสีเเดงเเต่ในปัจจุบันหันมาใช้เนื้อหมูมากขึ้น วิธีการทำคือสไลด์เนื้อสัตว์เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำมาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุงต่างๆ ใส่สีผสมอาหารเพื่อทำให้เนื้อมีสีเเดง จากนั้นนำไปตากแดดให้ได้ที่แล้วนำย่างบนเตาถ่านให้พอสุกเเละเเห้ง สามารถเก็บไว้ได้นาน
ขนมไทยพื้นบ้านรสชาติอร่อยเรียบง่ายด้วยส่วนผสมไม่กี่อย่าง ได้แก่ มันสำปะหลังขูดหรือปั่นให้ละเอียด ผสมกับน้ำตาลทราย เกลือ และน้ำสะอาดหรือน้ำคั้นใบเตย ใส่ถาดนึ่งให้สุกจนเนื้อมันเปลี่ยนเป็นเหลืองใส แล้วนำมาตัดเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสคลุกกับมะพร้าวขูดที่เคล้าเกลือไว้เล็กน้อย เคล็ดลับความอร่อยอยู่ที่วัตถุดิบหลักคือ มันสำปะหลังพันธุ์ที่เรียกว่า ‘มัน 5 นาที’ เป็นพันธุ์ที่นิยมใช้ทำขนม
‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ
ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี
ไส้อั่ว นับเป็นความชาญฉลาดของบรรพบุรุษชาวล้านนาอย่างหนึ่งในการใช้สอยทุกส่วนของหมูได้อย่างคุ้มค่า คำว่า “อั่ว” เป็นคำเมือง แปลว่า การแทรกหรือยัดไว้ตรงกลาง เมื่อนำเครื่องต่างๆยัดเข้าไปในไส้หมู จึงเรียกว่า ไส้อั่ว สูตรนี้เป็นสูตรไส้อั่วตับที่ใส่ตับเข้าไปเพิ่มความมันเเละนัว หอมกลิ่นพริกแกงเเละเครื่องสมุนไพรไทย ย่างจนสุกเกรียมหอม จนได้ออกมาเป็นไส้อั่วตับอร่อยๆ จะทำขาย ทำเเจกหรือทำไปฝากเพื่อนก็ได้
มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน
จิ้นแดง จิ้นเเห้งหรือจิ้นเกลือ คือ วิธีการถนอมอาหารของคนภาคเหนือ เเต่เดิมใช้เนื้อวัวทำให้ได้เนื้อที่มีสีเเดงเเต่ในปัจจุบันหันมาใช้เนื้อหมูมากขึ้น วิธีการทำคือสไลด์เนื้อสัตว์เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำมาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุงต่างๆ ใส่สีผสมอาหารเพื่อทำให้เนื้อมีสีเเดง จากนั้นนำไปตากแดดให้ได้ที่แล้วนำย่างบนเตาถ่านให้พอสุกเเละเเห้ง สามารถเก็บไว้ได้นาน
ขนมไทยพื้นบ้านรสชาติอร่อยเรียบง่ายด้วยส่วนผสมไม่กี่อย่าง ได้แก่ มันสำปะหลังขูดหรือปั่นให้ละเอียด ผสมกับน้ำตาลทราย เกลือ และน้ำสะอาดหรือน้ำคั้นใบเตย ใส่ถาดนึ่งให้สุกจนเนื้อมันเปลี่ยนเป็นเหลืองใส แล้วนำมาตัดเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสคลุกกับมะพร้าวขูดที่เคล้าเกลือไว้เล็กน้อย เคล็ดลับความอร่อยอยู่ที่วัตถุดิบหลักคือ มันสำปะหลังพันธุ์ที่เรียกว่า ‘มัน 5 นาที’ เป็นพันธุ์ที่นิยมใช้ทำขนม
Recommended Videos