เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่

Serves
20 ชิ้น
Level
3
ขนมหวานปักษ์ใต้ เนื้อหนึบ เป็นขนมพื้นบ้านหาทานยากที่ใช้มันสำปะหลังเป็นวัตถุดิบหลักมีลักษณะคล้ายขนมหน้านวล แต่เปลี่ยนจากข้าวเหนียวเป็นมันสัมปะหลังนึ่งแทน ราดด้วยกะทิรสชาติเค็มมันตัดกันได้ดีกับเนื้อขนม
INGREDIENTS
มันสำปะหลังหัวเล็กทั้งเปลือก
2 กิโลกรัม
น้ำตาลปี๊บหรือน้ำตาลทรายขาว
400 กรัม
กะทิ
1½ ถ้วย
เกลือสมุทร
¼ ช้อนชา
แป้งข้าวเจ้า
¼ ถ้วย
น้ำ
¼ ถ้วย
หัวกะทิ (500 กรัม)
2 ถ้วย
เกลือสมุทร
¼ ช้อนชา
METHOD
1. ล้างมันสำปะหลังทั้งเปลือกให้สะอาดขัดเศษดินที่ติดอยู่ออกให้หมด ปอกเปลือกมันสำปะหลัง ล้างน้ำให้สะอาดอีกครั้ง พักไว้ให้แห้งหรือพอหมาด หั่นเป็นชิ้นตามขวาง 2-3 ท่อนต่อหนึ่งหัว (เพื่อเวลานำไปไสจะได้จับสะดวกขึ้นทั้งนี้ อยู่กับขนาดของหัวมัน)
2. นำมันสำปะหลังที่เตรียมไว้มาไสด้วยตรูน (ที่ไสหัวมัน) หรือที่ขูดชีส ใช้ด้านที่ละเอียดสุด ขูดลงในอ่างผสมใบใหญ่จนหมดนำมันที่ขูดมาห่อด้วยผ้าขาวบางมัดปลายให้แน่น บีบน้ำจากมันออกแค่พอหมาด ใส่อ่างผสม พักไว้ ต้มน้ำในชั้นลังถึง ใส่น้ำในหม้อลังถึงประมาณ ¾ ของลังถึง ปิดฝา ยกขึ้นตั้งบนไฟกลางเตรียมไว้
3. ใส่น้ำตาลปี๊บหรือน้ำตาลทรายขาวลงในอ่างเนื้อมันสำปะหลังที่เตรียมไว้ นวดจนน้ำตาลละลายหมด ค่อยๆ ใส่กะทิและเกลือนวดจนเข้ากันอีกครั้ง ลักษณะส่วนผสมที่ได้จะมีความเหลวพอประมาณ และมีสีเหลืองอ่อนจากน้ำตาลปี๊บ หากใส่น้ำตาลทรายจะมีสีขาวอมเหลือง ปิดด้วยพลาสติกแร็ป พักไว้
4. ทำหน้ากะทิโดยละลายแป้งข้าวเจ้ากับน้ำให้เข้ากัน ใส่หัวกะทิและเกลือ คนให้เข้ากัน แบ่งออกเป็น 2 ส่วนเท่าๆ กัน เตรียมไว้
5. ทาน้ำมันพืชด้านในถาดสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดกว้าง 8×8 นิ้วสูง 1.5 นิ้ว ให้ทั่ว (เพื่อให้แซะขนมขึ้นจากถาดได้ง่ายขึ้น) เทส่วนผสมขนมหัวมันลงในถาด สูงประมาณ 1 นิ้ว จำ นวน 2 ถาดใส่ขนมหัวมันลงนึ่งในชั้นลังถึงนานประมาณ 30-35 นาที เปิดฝาเทส่วนหน้ากะทิที่เตรียมไว้ลงในขนมทั้ง 2 ถาด ปิดฝานึ่งต่อให้หน้ากะทิสุก นานประมาณ 20 นาที ยกลงจากเตา พักไว้ให้เย็นตัดเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน เสิร์ฟ
Recommended Articles

ขนมหวานหน้าร้อนต้องยกให้ข้าวเหนียวมะม่วง ข้าวเหนียวสุกนุ่มมูนกับกะทิสดหอมๆ หวานเค็มมันกำลังดี กินกับมะม่วงสุกที่หาได้ในฤดูร้อน เช่น มะม่วงน้ำดอกไม้ อกร่อง เขียวเสวย ฯลฯ เลือกใช้ข้าวเหนียวเขี้ยวงูสายพันธุ์เชียงราย เมล็ดข้าวเรียวยาว เคล็ดลับคือ การเตรียมข้าวเหนียวให้ถูกต้องก่อน ข้อแรกคือเราต้องรู้ว่าข้าวเหนียวที่ใช้เก่าหรือใหม่เพื่อที่จะแช่ข้าวเหนียวให้พอดี ข้อสองคือการล้างเอายางข้าวออกเพื่อให้มูนแล้วเมล็ดข้าววาวใส ส่วนกะทิที่มูนถ้าจะให้ดี ควรใช้กะทิสดจะหอมมันกว่ากะทิกล่องเป็นไหนๆ วิธีเลือกกะทิสดให้สั่งมะพร้าวขูดขาว (ขูดไม่ติดกะลามะพร้าว) และให้แม่ค้าคั้นแบบไม่ใส่น้ำ จะได้หัวกะทิข้นๆ เมื่อได้มาแล้ว หากยังไม่ทำทันทีให้นำหัวกะทิที่ซื้อมาตั้งไฟอ่อนพอให้กะทิร้อนประมาณ 80องศาเซลเซียสเพื่อฆ่าเชื้อโรคก่อน มิเช่นนั้นกะทิจะบูดเสียก่อน

ขนมต้มแดง เป็นขนมโบราณดังเดิม เป็นการนวดแป้งข้าวเหนียวกับน้ำให้เข้ากันจนปั้นเป็นก้อนได้ จากนั้นนำไปต้มให้แป้งสุก ส่วนตัวหน้ากระฉีกนั้นเป็นการเคี่ยวน้ำตาลมะพร้าว น้ำ และเกลือ ให้ส่วนผสมทุกอย่างละลายและเดือดเข้ากันดี จึงค่อยใส่มะพร้าวขูด เคี่ยวต่อจนส่วนผสมงวด ก่อนจะเอามาราดหรือจะนำเอาแป้งที่ต้มสุ่กแล้วลงเคล้าให้เคลือบตัวแป้งจนทั่วก็ได้เช่นกัน

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน

ขนมไทยพื้นบ้านรสชาติอร่อยเรียบง่ายด้วยส่วนผสมไม่กี่อย่าง ได้แก่ มันสำปะหลังขูดหรือปั่นให้ละเอียด ผสมกับน้ำตาลทราย เกลือ และน้ำสะอาดหรือน้ำคั้นใบเตย ใส่ถาดนึ่งให้สุกจนเนื้อมันเปลี่ยนเป็นเหลืองใส แล้วนำมาตัดเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสคลุกกับมะพร้าวขูดที่เคล้าเกลือไว้เล็กน้อย เคล็ดลับความอร่อยอยู่ที่วัตถุดิบหลักคือ มันสำปะหลังพันธุ์ที่เรียกว่า ‘มัน 5 นาที’ เป็นพันธุ์ที่นิยมใช้ทำขนม

ขนมหวานหน้าร้อนต้องยกให้ข้าวเหนียวมะม่วง ข้าวเหนียวสุกนุ่มมูนกับกะทิสดหอมๆ หวานเค็มมันกำลังดี กินกับมะม่วงสุกที่หาได้ในฤดูร้อน เช่น มะม่วงน้ำดอกไม้ อกร่อง เขียวเสวย ฯลฯ เลือกใช้ข้าวเหนียวเขี้ยวงูสายพันธุ์เชียงราย เมล็ดข้าวเรียวยาว เคล็ดลับคือ การเตรียมข้าวเหนียวให้ถูกต้องก่อน ข้อแรกคือเราต้องรู้ว่าข้าวเหนียวที่ใช้เก่าหรือใหม่เพื่อที่จะแช่ข้าวเหนียวให้พอดี ข้อสองคือการล้างเอายางข้าวออกเพื่อให้มูนแล้วเมล็ดข้าววาวใส ส่วนกะทิที่มูนถ้าจะให้ดี ควรใช้กะทิสดจะหอมมันกว่ากะทิกล่องเป็นไหนๆ วิธีเลือกกะทิสดให้สั่งมะพร้าวขูดขาว (ขูดไม่ติดกะลามะพร้าว) และให้แม่ค้าคั้นแบบไม่ใส่น้ำ จะได้หัวกะทิข้นๆ เมื่อได้มาแล้ว หากยังไม่ทำทันทีให้นำหัวกะทิที่ซื้อมาตั้งไฟอ่อนพอให้กะทิร้อนประมาณ 80องศาเซลเซียสเพื่อฆ่าเชื้อโรคก่อน มิเช่นนั้นกะทิจะบูดเสียก่อน

ขนมต้มแดง เป็นขนมโบราณดังเดิม เป็นการนวดแป้งข้าวเหนียวกับน้ำให้เข้ากันจนปั้นเป็นก้อนได้ จากนั้นนำไปต้มให้แป้งสุก ส่วนตัวหน้ากระฉีกนั้นเป็นการเคี่ยวน้ำตาลมะพร้าว น้ำ และเกลือ ให้ส่วนผสมทุกอย่างละลายและเดือดเข้ากันดี จึงค่อยใส่มะพร้าวขูด เคี่ยวต่อจนส่วนผสมงวด ก่อนจะเอามาราดหรือจะนำเอาแป้งที่ต้มสุ่กแล้วลงเคล้าให้เคลือบตัวแป้งจนทั่วก็ได้เช่นกัน

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน

ขนมไทยพื้นบ้านรสชาติอร่อยเรียบง่ายด้วยส่วนผสมไม่กี่อย่าง ได้แก่ มันสำปะหลังขูดหรือปั่นให้ละเอียด ผสมกับน้ำตาลทราย เกลือ และน้ำสะอาดหรือน้ำคั้นใบเตย ใส่ถาดนึ่งให้สุกจนเนื้อมันเปลี่ยนเป็นเหลืองใส แล้วนำมาตัดเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสคลุกกับมะพร้าวขูดที่เคล้าเกลือไว้เล็กน้อย เคล็ดลับความอร่อยอยู่ที่วัตถุดิบหลักคือ มันสำปะหลังพันธุ์ที่เรียกว่า ‘มัน 5 นาที’ เป็นพันธุ์ที่นิยมใช้ทำขนม

ขนมหวานหน้าร้อนต้องยกให้ข้าวเหนียวมะม่วง ข้าวเหนียวสุกนุ่มมูนกับกะทิสดหอมๆ หวานเค็มมันกำลังดี กินกับมะม่วงสุกที่หาได้ในฤดูร้อน เช่น มะม่วงน้ำดอกไม้ อกร่อง เขียวเสวย ฯลฯ เลือกใช้ข้าวเหนียวเขี้ยวงูสายพันธุ์เชียงราย เมล็ดข้าวเรียวยาว เคล็ดลับคือ การเตรียมข้าวเหนียวให้ถูกต้องก่อน ข้อแรกคือเราต้องรู้ว่าข้าวเหนียวที่ใช้เก่าหรือใหม่เพื่อที่จะแช่ข้าวเหนียวให้พอดี ข้อสองคือการล้างเอายางข้าวออกเพื่อให้มูนแล้วเมล็ดข้าววาวใส ส่วนกะทิที่มูนถ้าจะให้ดี ควรใช้กะทิสดจะหอมมันกว่ากะทิกล่องเป็นไหนๆ วิธีเลือกกะทิสดให้สั่งมะพร้าวขูดขาว (ขูดไม่ติดกะลามะพร้าว) และให้แม่ค้าคั้นแบบไม่ใส่น้ำ จะได้หัวกะทิข้นๆ เมื่อได้มาแล้ว หากยังไม่ทำทันทีให้นำหัวกะทิที่ซื้อมาตั้งไฟอ่อนพอให้กะทิร้อนประมาณ 80องศาเซลเซียสเพื่อฆ่าเชื้อโรคก่อน มิเช่นนั้นกะทิจะบูดเสียก่อน

ขนมต้มแดง เป็นขนมโบราณดังเดิม เป็นการนวดแป้งข้าวเหนียวกับน้ำให้เข้ากันจนปั้นเป็นก้อนได้ จากนั้นนำไปต้มให้แป้งสุก ส่วนตัวหน้ากระฉีกนั้นเป็นการเคี่ยวน้ำตาลมะพร้าว น้ำ และเกลือ ให้ส่วนผสมทุกอย่างละลายและเดือดเข้ากันดี จึงค่อยใส่มะพร้าวขูด เคี่ยวต่อจนส่วนผสมงวด ก่อนจะเอามาราดหรือจะนำเอาแป้งที่ต้มสุ่กแล้วลงเคล้าให้เคลือบตัวแป้งจนทั่วก็ได้เช่นกัน

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

มะกรูด เป็นพืชในตระกลูส้มและมะนาว (Citrus) คนไทยส่วนใหญ่นิยมปลูกมะกรูดไว้ใช้ประโยชน์ในครัวเรือน โดยเฉพาะส่วนใบและผล ด้วยกลิ่นหอมเฉพาะตัวของมะกรูดที่ทำให้รู้สึกสดชื่น นอกจากมีบทบาทในอาหารคาวแล้ว มะกรูดยังมีบทบาทในอาหารหวาน ทั้งนำเนื้อมากวนไส้ นำไปเชื่อมรวมถึงการลอยแก้ว มะกรูดลอยแก้ว เป็นของหวานดับร้อนของคนในสมัยก่อน ดูเรียบง่ายแต่แฝงไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ มากมาย ด้วยลักษณะของมะกรูดที่มีกลิ่นรสเฉพาะตัว จึงต้องอาศัยเทคนิคและความใส่ใจ เพื่อให้ได้เนื้อมะกรูดลอยแก้วที่มีความนุ่มหนึบ ใสดั่งแก้ว ชิมรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ครบสามรส หอมกลิ่นมะกรูดอ่อนๆ เอาไว้กินกับน้ำแข็งเพิ่มความสดชื่นในวันที่อากาศร้อน

ขนมไทยพื้นบ้านรสชาติอร่อยเรียบง่ายด้วยส่วนผสมไม่กี่อย่าง ได้แก่ มันสำปะหลังขูดหรือปั่นให้ละเอียด ผสมกับน้ำตาลทราย เกลือ และน้ำสะอาดหรือน้ำคั้นใบเตย ใส่ถาดนึ่งให้สุกจนเนื้อมันเปลี่ยนเป็นเหลืองใส แล้วนำมาตัดเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสคลุกกับมะพร้าวขูดที่เคล้าเกลือไว้เล็กน้อย เคล็ดลับความอร่อยอยู่ที่วัตถุดิบหลักคือ มันสำปะหลังพันธุ์ที่เรียกว่า ‘มัน 5 นาที’ เป็นพันธุ์ที่นิยมใช้ทำขนม
Recommended Videos