เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่
Serves
12 ออนซ์
Level
2
สูตรแยม “แอปเปิลแบบญี่ปุ่น” ที่เพื่อนๆสามารถเลือกไปทานคู่ได้หลากหลายเมนู โดยใช้น้ำตาลหัวผักกาดจากเมืองฮอกไกโด ทั้งง่าย อร่อยและมีประโยชน์ มีวัตถุดิบหลักแค่ 3 อย่าง ลองนำไปทำกันดูได้น้า
INGREDIENTS
แอปเปิลหั่นชิ้น 2 ซม.
350 กรัม
ผิวแอปเปิล
½ ถ้วย
น้ำตาลหัวผักกาดจากฮอกไกโด
140 กรัม
น้ำมะนาว
1 ช้อนโต๊ะ
อุปกรณ์: ขวดแก้วถนอมอาหาร
METHOD
- เตรียมขวดบรรจุโดยล้างขวดด้วยน้ำยาล้างจานให้สะอาด นำขวดลงต้มในน้ำเดือดประมาณ 10 นาที (นำขวดลงต้มอย่างเดียวไม่รวมฝา) ปิดไฟ จากนั้นนำขึ้นมาคว่ำไว้บนตะแกรงให้สะเด็ดน้ำ ส่วนฝาให้นำไปแช่ในหม้อน้ำที่ต้มขวดประมาณ 10 – 15 นาที พอครบกำหนด นำขึ้นมาใช้ผ้าสะอาดเช็คน้ำให้แห้งสนิท
- ทำแยมโดยใส่แอปเปิล ผิวแอปเปิล น้ำตาลหัวผักกาดจากฮอกไกโด ยกขึ้นตั้งบนไฟกลางค่อนอ่อน เคี่ยวประมาณ 15-20 นาทีจนแอปเปิลนุ่ม
- พอเคี่ยวแอปเปิลจนนุ่มได้ที่แล้ว ตักเปลือกแอปเปิลออก ใส่น้ำมะนาว เคี่ยวต่ออีกประมาณ 20 นาที จนเนื้อแยมข้น ทดสอบโดยตักแยมหยดใส่จานที่นำไปแช่ช่องแข็งไว้ล่วงหน้า ตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้องเมื่อเอียงจานแล้วแยมไม่ไหลแสดงว่าแยมข้นได้ที่แล้ว บรรจุแยมใส่ขวดแก้วที่ต้มฆ่าเชื้อไว้ หรือใส่ภาชนะสะอาด เก็บในตู้เย็นช่องธรรมดาได้ 1 เดือน
หมายเหตุ
- ผิวของแอปเปิลมีส่วนประกอบของแพคตินมาก จึงไม่จำเป็นต้องใส่แพคตินผงเพิ่ม
- สูตรนี้เป็นการทำแยมสุขภาพ หวานน้อยสไตล์ญี่ปุ่นโดยใช้น้ำตาล เพียง 40% ของน้ำหนักผลไม้ตั้งต้น ซึ่งในเวลาทำ จะต้องเคี่ยวนานกว่าจะข้นเป็นเนื้อแยม ทำให้รสหวานเกินและสุดท้ายเปอร์เซ็นต์น้ำตาลต่อน้ำหนักแยมที่ได้ จะสูงเกิน 40% ดังนั้นสูตรนี้จึงเพคตินจากเปลือกเแอปเปิลเข้ามาช่วยทำให้แยมข้นเร็วขึ้น
- ไม่แนะนำให้ใช้หม้อสแตนเหรดเพราะจะทำให้แยมมีสีที่เข้ม
- บรรจุแยมในขณะที่ยังร้อนและปิดฝาให้แน่นทันที
อ่านบทความเพิ่มเติม ทำน้ำตาลจากหัวผักกาดก็ได้เหรอ?!
Gallery
Recommended Articles
ขนมปังเกลือ หนึ่งในเบเกอรีสุดฮิตของบรรดานักท่องเที่ยวเกาหลี ใครไปเกาหลีเป็นต้องไปต่อคิวซื้อกิน เอกลักษณ์ขนมปังเกลือ นอกจากความเค็มที่มากับชื่อ มันคือความมัน กรอบนอกนุ่มในและหอมเนย เพราะด้านมีเนยทั้งก้อนม้วนอยู่ ผิวนอกกรอบหอมเนยที่ละลายออกมา เหมือนขนมปังที่โดนทอดด้วยเนยเดือดๆในเตาอบ เนื้อในขนมปังนุ่มเป็นใยบางๆคล้ายโชกุปัง
Baked Alaska เค้กไอศกรีมเก่าแก่ มีประวัติน่าสนใจได้ถูกคิดค้นขึ้นโดย Charles Ranhofer เชฟชาวฝรั่งเศสเพื่อเป็นสัญลักษณ์ในช่วงเวลาที่สหรัฐอเมริกาได้ซื้อเกาะอลาสก้าจากรัสเซีย อีกทั้งยังเป็นขนมที่ได้แรงบันดาลใจจากการค้นพบทฤษฏีการนำพาความร้อนของ Sir Benjamin Thomson ก่อนหน้านั้นที่พบว่าเมอร์แรงก์ไข่ขาวที่มีฟองอากาศมากมายนั้นเป็นฉนวนความร้อนอย่างดีจนทำให้ไอศกรีมด้านในไม่ละลาย
คาราเมลคัสตาร์ดเนื้อเนียน หวานมัน สัมผัสนุ่มกำลังดี หอมหวานกลิ่นน้ำตาลไหม้ ทำได้ง่ายไม่ไกลเกินเอื้อมเพียงทำตามขั้นตอนเช่น การกรองส่วนผสมก่อนใส่ลงพิมพ์ ช้อนฟองในพิมพ์ออกก่อนอบ และการอบหล่อน้ำเพื่อให้เนื้อคัสตาร์ดสุกแบบเนียนละมุน ส่วนการทำคาราเมลไม่ยากอย่างที่คิด เเค่เคี่ยวน้ำตาลกับน้ำแบบปิดฝาหม้อจนให้น้ำตาลละลายก่อน แล้วจึงเปิดฝาหม้อให้น้ำตาลค่อยๆเปลี่ยนเป็นคาราเมล (สีน้ำตาลเข้ม) เท่านี้ก็หมดปัญหาน้ำตาลตกผลึกเวลาทำคาราเมลแล้ว
Siberia cake ขนมในยุคสงครามโลกที่กลับมาฮิตอีกครั้ง จากอะนิเมะเรื่อง the wind rises จากสตูดิโอจิบลิ หน้าตาเป็นเค้กสองชิ้นสามเหลี่ยมประกบกับไส้ถั่วแดงตรงกลาง เดาว่าเนื้อเค้กจะเป็นคัสเตลลาหรือเค้กชิฟฟอน สูตรนี้ทำเป็นชิฟฟอน เนื้อจะเบาๆหน่อย ส่วนไส้นำถั่วแดงที่ต้มจนสุกไปปั่น กวนกับน้ำตาลแล้วใส่ผงวุ้นเพื่อให้ไส้เซ็ตตัวได้ดี
เพรทเซล ขนมปังในรูปแบบแป้งไขว้ไปมาเป็นสัญลักษณ์แห่งความโชคดีและความรัก พบในแถบสวิสเซอร์แลนด์ เยอรมนี รวมถึงเป็นขนมประจำชาติของประเทศเยอรมนีอีกด้วย เพรทเซลมีเนื้อนุ่มใน ผิวด้านนอกเหนียว เกิดจากขั้นตอนการต้มเพรทเซลในโซดาไลน์ (สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์) ซึ่งมีฤทธิ์เป็นด่าง ช่วยให้ผิวนอกเพรทเซลเป็นสีน้ำตาลเงาสวย แต่ปัจจุบันเพรทเซลที่ทำตามบ้านนิยมใช้น้ำละลายกับเบกกิ้งโซดาแทนเพราะปลอดภัยและหาง่ายกว่า
เมอแรงก์เกิดจากการตีไข่ขาวกับน้ำตาลทรายขาวจนข้นฟู มีวิธีการผสมหรือขึ้นเมอแรงก์ 3 แบบ คือ เฟรนชเมอแรงก์ อิตาเลียนเมอแรงก์ และสวิสเมอแรงก์ แต่ละชนิดนำไปใช้ทำเบเกอรีได้หลากหลาย เช่น มาการอง ซูเฟล่ มูส พัฟโลวา บัตเตอร์ครีม เฟรนชเมอแรงก์ ทำด้วยการตีไข่ขาว น้ำตาลทรายและครีมออฟทาร์ทาร์จนเป็นเมอแรงก์ขาวฟู สามารถนำไปอบทำเป็นพัฟโลวา คุกกี้อัลมอนด์เมอแรงก์ และเมอแรงก์คิส อิตาเลียนเมอแรงก์ เป็นเมอแรงก์ที่สุกแล้วเพราะเกิดจากการตีไข่ขาวกับน้ำเชื่อมร้อนๆ ดังนั้นจึงสามารถนำไปใช้งานหรือตกแต่งหน้าขนมไ้ด้ทันที สวิสเมอแรงก์ เป็นเมอแรงก์ที่ผ่านความร้อนมาแล้วเล็กน้อยประมาณ 40-70 c โดยการละลายน้ำตาลกับไข่ขาวบนอ่างน้ำร้อน แล้วจึงนำไปตีต่อจนเป็นเมอแรงก์ข้นฟู นำไปตกแต่งหน้าขนมหรือใส่เนยสดลงไปเพื่อให้เป็นบัตเตอร์ครีมที่เนื้อนุ่มเบา
ขนมปังเกลือ หนึ่งในเบเกอรีสุดฮิตของบรรดานักท่องเที่ยวเกาหลี ใครไปเกาหลีเป็นต้องไปต่อคิวซื้อกิน เอกลักษณ์ขนมปังเกลือ นอกจากความเค็มที่มากับชื่อ มันคือความมัน กรอบนอกนุ่มในและหอมเนย เพราะด้านมีเนยทั้งก้อนม้วนอยู่ ผิวนอกกรอบหอมเนยที่ละลายออกมา เหมือนขนมปังที่โดนทอดด้วยเนยเดือดๆในเตาอบ เนื้อในขนมปังนุ่มเป็นใยบางๆคล้ายโชกุปัง
Baked Alaska เค้กไอศกรีมเก่าแก่ มีประวัติน่าสนใจได้ถูกคิดค้นขึ้นโดย Charles Ranhofer เชฟชาวฝรั่งเศสเพื่อเป็นสัญลักษณ์ในช่วงเวลาที่สหรัฐอเมริกาได้ซื้อเกาะอลาสก้าจากรัสเซีย อีกทั้งยังเป็นขนมที่ได้แรงบันดาลใจจากการค้นพบทฤษฏีการนำพาความร้อนของ Sir Benjamin Thomson ก่อนหน้านั้นที่พบว่าเมอร์แรงก์ไข่ขาวที่มีฟองอากาศมากมายนั้นเป็นฉนวนความร้อนอย่างดีจนทำให้ไอศกรีมด้านในไม่ละลาย
คาราเมลคัสตาร์ดเนื้อเนียน หวานมัน สัมผัสนุ่มกำลังดี หอมหวานกลิ่นน้ำตาลไหม้ ทำได้ง่ายไม่ไกลเกินเอื้อมเพียงทำตามขั้นตอนเช่น การกรองส่วนผสมก่อนใส่ลงพิมพ์ ช้อนฟองในพิมพ์ออกก่อนอบ และการอบหล่อน้ำเพื่อให้เนื้อคัสตาร์ดสุกแบบเนียนละมุน ส่วนการทำคาราเมลไม่ยากอย่างที่คิด เเค่เคี่ยวน้ำตาลกับน้ำแบบปิดฝาหม้อจนให้น้ำตาลละลายก่อน แล้วจึงเปิดฝาหม้อให้น้ำตาลค่อยๆเปลี่ยนเป็นคาราเมล (สีน้ำตาลเข้ม) เท่านี้ก็หมดปัญหาน้ำตาลตกผลึกเวลาทำคาราเมลแล้ว
Siberia cake ขนมในยุคสงครามโลกที่กลับมาฮิตอีกครั้ง จากอะนิเมะเรื่อง the wind rises จากสตูดิโอจิบลิ หน้าตาเป็นเค้กสองชิ้นสามเหลี่ยมประกบกับไส้ถั่วแดงตรงกลาง เดาว่าเนื้อเค้กจะเป็นคัสเตลลาหรือเค้กชิฟฟอน สูตรนี้ทำเป็นชิฟฟอน เนื้อจะเบาๆหน่อย ส่วนไส้นำถั่วแดงที่ต้มจนสุกไปปั่น กวนกับน้ำตาลแล้วใส่ผงวุ้นเพื่อให้ไส้เซ็ตตัวได้ดี
เพรทเซล ขนมปังในรูปแบบแป้งไขว้ไปมาเป็นสัญลักษณ์แห่งความโชคดีและความรัก พบในแถบสวิสเซอร์แลนด์ เยอรมนี รวมถึงเป็นขนมประจำชาติของประเทศเยอรมนีอีกด้วย เพรทเซลมีเนื้อนุ่มใน ผิวด้านนอกเหนียว เกิดจากขั้นตอนการต้มเพรทเซลในโซดาไลน์ (สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์) ซึ่งมีฤทธิ์เป็นด่าง ช่วยให้ผิวนอกเพรทเซลเป็นสีน้ำตาลเงาสวย แต่ปัจจุบันเพรทเซลที่ทำตามบ้านนิยมใช้น้ำละลายกับเบกกิ้งโซดาแทนเพราะปลอดภัยและหาง่ายกว่า
เมอแรงก์เกิดจากการตีไข่ขาวกับน้ำตาลทรายขาวจนข้นฟู มีวิธีการผสมหรือขึ้นเมอแรงก์ 3 แบบ คือ เฟรนชเมอแรงก์ อิตาเลียนเมอแรงก์ และสวิสเมอแรงก์ แต่ละชนิดนำไปใช้ทำเบเกอรีได้หลากหลาย เช่น มาการอง ซูเฟล่ มูส พัฟโลวา บัตเตอร์ครีม เฟรนชเมอแรงก์ ทำด้วยการตีไข่ขาว น้ำตาลทรายและครีมออฟทาร์ทาร์จนเป็นเมอแรงก์ขาวฟู สามารถนำไปอบทำเป็นพัฟโลวา คุกกี้อัลมอนด์เมอแรงก์ และเมอแรงก์คิส อิตาเลียนเมอแรงก์ เป็นเมอแรงก์ที่สุกแล้วเพราะเกิดจากการตีไข่ขาวกับน้ำเชื่อมร้อนๆ ดังนั้นจึงสามารถนำไปใช้งานหรือตกแต่งหน้าขนมไ้ด้ทันที สวิสเมอแรงก์ เป็นเมอแรงก์ที่ผ่านความร้อนมาแล้วเล็กน้อยประมาณ 40-70 c โดยการละลายน้ำตาลกับไข่ขาวบนอ่างน้ำร้อน แล้วจึงนำไปตีต่อจนเป็นเมอแรงก์ข้นฟู นำไปตกแต่งหน้าขนมหรือใส่เนยสดลงไปเพื่อให้เป็นบัตเตอร์ครีมที่เนื้อนุ่มเบา
ขนมปังเกลือ หนึ่งในเบเกอรีสุดฮิตของบรรดานักท่องเที่ยวเกาหลี ใครไปเกาหลีเป็นต้องไปต่อคิวซื้อกิน เอกลักษณ์ขนมปังเกลือ นอกจากความเค็มที่มากับชื่อ มันคือความมัน กรอบนอกนุ่มในและหอมเนย เพราะด้านมีเนยทั้งก้อนม้วนอยู่ ผิวนอกกรอบหอมเนยที่ละลายออกมา เหมือนขนมปังที่โดนทอดด้วยเนยเดือดๆในเตาอบ เนื้อในขนมปังนุ่มเป็นใยบางๆคล้ายโชกุปัง
Baked Alaska เค้กไอศกรีมเก่าแก่ มีประวัติน่าสนใจได้ถูกคิดค้นขึ้นโดย Charles Ranhofer เชฟชาวฝรั่งเศสเพื่อเป็นสัญลักษณ์ในช่วงเวลาที่สหรัฐอเมริกาได้ซื้อเกาะอลาสก้าจากรัสเซีย อีกทั้งยังเป็นขนมที่ได้แรงบันดาลใจจากการค้นพบทฤษฏีการนำพาความร้อนของ Sir Benjamin Thomson ก่อนหน้านั้นที่พบว่าเมอร์แรงก์ไข่ขาวที่มีฟองอากาศมากมายนั้นเป็นฉนวนความร้อนอย่างดีจนทำให้ไอศกรีมด้านในไม่ละลาย
คาราเมลคัสตาร์ดเนื้อเนียน หวานมัน สัมผัสนุ่มกำลังดี หอมหวานกลิ่นน้ำตาลไหม้ ทำได้ง่ายไม่ไกลเกินเอื้อมเพียงทำตามขั้นตอนเช่น การกรองส่วนผสมก่อนใส่ลงพิมพ์ ช้อนฟองในพิมพ์ออกก่อนอบ และการอบหล่อน้ำเพื่อให้เนื้อคัสตาร์ดสุกแบบเนียนละมุน ส่วนการทำคาราเมลไม่ยากอย่างที่คิด เเค่เคี่ยวน้ำตาลกับน้ำแบบปิดฝาหม้อจนให้น้ำตาลละลายก่อน แล้วจึงเปิดฝาหม้อให้น้ำตาลค่อยๆเปลี่ยนเป็นคาราเมล (สีน้ำตาลเข้ม) เท่านี้ก็หมดปัญหาน้ำตาลตกผลึกเวลาทำคาราเมลแล้ว
Siberia cake ขนมในยุคสงครามโลกที่กลับมาฮิตอีกครั้ง จากอะนิเมะเรื่อง the wind rises จากสตูดิโอจิบลิ หน้าตาเป็นเค้กสองชิ้นสามเหลี่ยมประกบกับไส้ถั่วแดงตรงกลาง เดาว่าเนื้อเค้กจะเป็นคัสเตลลาหรือเค้กชิฟฟอน สูตรนี้ทำเป็นชิฟฟอน เนื้อจะเบาๆหน่อย ส่วนไส้นำถั่วแดงที่ต้มจนสุกไปปั่น กวนกับน้ำตาลแล้วใส่ผงวุ้นเพื่อให้ไส้เซ็ตตัวได้ดี
เพรทเซล ขนมปังในรูปแบบแป้งไขว้ไปมาเป็นสัญลักษณ์แห่งความโชคดีและความรัก พบในแถบสวิสเซอร์แลนด์ เยอรมนี รวมถึงเป็นขนมประจำชาติของประเทศเยอรมนีอีกด้วย เพรทเซลมีเนื้อนุ่มใน ผิวด้านนอกเหนียว เกิดจากขั้นตอนการต้มเพรทเซลในโซดาไลน์ (สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์) ซึ่งมีฤทธิ์เป็นด่าง ช่วยให้ผิวนอกเพรทเซลเป็นสีน้ำตาลเงาสวย แต่ปัจจุบันเพรทเซลที่ทำตามบ้านนิยมใช้น้ำละลายกับเบกกิ้งโซดาแทนเพราะปลอดภัยและหาง่ายกว่า
เมอแรงก์เกิดจากการตีไข่ขาวกับน้ำตาลทรายขาวจนข้นฟู มีวิธีการผสมหรือขึ้นเมอแรงก์ 3 แบบ คือ เฟรนชเมอแรงก์ อิตาเลียนเมอแรงก์ และสวิสเมอแรงก์ แต่ละชนิดนำไปใช้ทำเบเกอรีได้หลากหลาย เช่น มาการอง ซูเฟล่ มูส พัฟโลวา บัตเตอร์ครีม เฟรนชเมอแรงก์ ทำด้วยการตีไข่ขาว น้ำตาลทรายและครีมออฟทาร์ทาร์จนเป็นเมอแรงก์ขาวฟู สามารถนำไปอบทำเป็นพัฟโลวา คุกกี้อัลมอนด์เมอแรงก์ และเมอแรงก์คิส อิตาเลียนเมอแรงก์ เป็นเมอแรงก์ที่สุกแล้วเพราะเกิดจากการตีไข่ขาวกับน้ำเชื่อมร้อนๆ ดังนั้นจึงสามารถนำไปใช้งานหรือตกแต่งหน้าขนมไ้ด้ทันที สวิสเมอแรงก์ เป็นเมอแรงก์ที่ผ่านความร้อนมาแล้วเล็กน้อยประมาณ 40-70 c โดยการละลายน้ำตาลกับไข่ขาวบนอ่างน้ำร้อน แล้วจึงนำไปตีต่อจนเป็นเมอแรงก์ข้นฟู นำไปตกแต่งหน้าขนมหรือใส่เนยสดลงไปเพื่อให้เป็นบัตเตอร์ครีมที่เนื้อนุ่มเบา
Recommended Videos