เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่

Serves
4 คน
Level
2
ภาคใต้ก็ทำเมนูไข่มดแดงกินเช่นเดียวกับครัวล้านนาและครัวอีสานเช่นกัน แต่ว่าทางภาคใต้จะนิยมนำมาต้มกับกะทิ คล้ายกับเมนูใบเหลียง รสชาติจะออกมันๆหวานๆหอมกลิ่นเครื่องสมุนไพรอย่างตะไคร้และหอมแดง มีความเผ็ดเล็กน้อยจากการบุบพริกขี้หนูสวนใส่ลงไปตอนท้าย ความลงตัวกันของกะทิและไข่มดแดงนั้นทำให้ออกมาเป็นเมนูที่อร่อยเลย
INGREDIENTS
ไข่มดแดง
2½ ถ้วย (250 กรัม)
หางกะทิ
1 ถ้วย
หอมแดงบุบ
15 หัว
ตะไคร้หั่นท่อนบุบ
6 ต้น
หัวกะทิ
2 ถ้วย
เกลือสมุทร
1½ ช้อนชา
น้ำปลา
2 ช้อนชา
น้ำตาลมะพร้าว
1½ ช้อนชา
ใบเหลียงฉีก
2 ถ้วย (20 กรัม)
พริกขี้หนูบุบ
10 เม็ด
METHOD
1. ล้างไข่มดแดงให้สะอาด สะเด็ดน้ำ พักไว้
2. ตั้งหม้อหางกะทิบนไฟกลาง พอร้อนใส่หอมแดงและตะไคร้ ลงในหม้อ ลดเป็นไฟอ่อนเคี่ยวให้กลิ่นสมุนไพรหอม ใส่หัวกะทิ ปรุงรสด้วยเกลือสมุทร น้ำปลา และน้ำตาลมะพร้าว คนให้ส่วนผสมทุกอย่างเข้ากัน พอเดือดอีกครั้ง ใส่ใบเหลียงและไข่มดแดง เคี่ยวต่ออีกประมาณ 2-3 นาที พอส่วนผสมทุกอย่างสุก ใส่พริกขี้หนู ปิดไฟ
3. ตักต้มกะทิไข่มดแดงใส่ชาม เสิร์ฟ
อ่านบทความเพิ่มเติม
Gallery






Recommended Articles

“โรลครีมชีสลูกตาล” ที่นำวัตถุดิบจากต้นตาลโตนดมาใส่ลงในเมนูนี้ถึง 3 อย่าง น้ำตาลสด น้ำตาลโตนด และลูกตาลอ่อน โดยทั้ง 3 อย่างนี้อยู่ในส่วนของครีมชีสที่เป็นการตีครีมชีสกับน้ำตาลโตนดให้เข้ากันก่อนที่จะผสมตัวน้ำตาลสดเข้าไป บอกเลยว่าตอนตีครีมชีสก็หอมอบอวนไปด้วยกลิ่นของน้ำตาลโตนดไปทั่วห้อง ก่อนจะนำมาผสมรวมกับวิปปิ้งครีมที่ตีไว้ เนื้อครีมชีสที่ได้ก็จะนุ่มเบาหอมกลิ่นน้ำตาลโตนด เปรี้ยวอมหวานนิดๆ

“ยำส้มกะปิทรงเครื่อง” เป็นการนำเอากะปิมาละลายกับกะทิจากนั้นนำไปคั่วให้หอมในกระทะ แล้วปรุงรสด้วยน้ำตาล น้ำปลา น้ำมะนาว และน้ำพริกเผา รสชาติที่ได้ก็หอมๆนวลกะปิ จากนั้นก็นำมาเคล้ากับส้มที่เตรียมไว้ แล้วเพิ่มความพิเศษของยำเข้าไปอีกด้วยการใส้เครื่องอย่างกระเทียมซอย หอมแดงซอย พริกจินดาแดงซอย มะพร้าวคั่ว เคล้าๆให้เข้ากัน จากนั้นก็ตักใส่จานเสิร์ฟพร้อมกับเนื้อปลากะพงแดงที่นำไปเคล้ากับเกลือ พริกไทยเล็กน้อย แล้วนำไปทอดให้หนังกรอบ เนื้อด้านในสุกกำลังดี ตกแต่งด้วยใบผักชี

หมูย่างเมืองตรังของดีของเด่นประจำจังหวัด เรียกได้ว่าใครไปใครมาก็ต้องขอลองลิ้มรสดูสักครั้ง ไม่อย่างนั้นจะเรียกว่ามาไม่ถึงจังหวัดตรังเป็นแน่ ด้วยความเป็นเอกลักษณ์ที่ไม่มีใครเหมือน จะเรียกว่าหมูย่างผสมกับหมูกรอบก็ได้ เนื้อหมูที่ชุ่มฉ่ำไปด้วยความหวานที่เกิดจากน้ำตาลและน้ำผึ้ง หอมกลิ่นเครื่องเทศต่างๆ ย่างให้หนังกรอบแต่เนื้อยังฉ่ำอยู่ สับเป็นชิ้นๆกินเป็นอาหารเช้ากับน้ำจิ้มคู่ใจชาวตรังอย่างคอมเจือง

“แกงคั่วหอยหลอด” ที่ใช้เครื่องแกงคั่วทางใต้ รสชาติจัดจ้าน หอมกลิ่นเครื่องแกง นำมาผัดให้เข้ากันกับหางกะทิ จากนั้นก็ใส่ผักต่างๆอย่างมะเขือเปราะ มะเขือพวง ใบชะพลู พริกขี้หนู พริกชี้ฟ้า เป็นต้น และก็ใส่พระเอกของเราอย่าง หอยหลอดเข้าไป ปรุงรสแค่เกลือสมุทรและน้ำตาลมะพร้าวเท่านั้น ปิดท้ายด้วยความมันกลมกล่อมอย่างหัวกะทิ เพียงเท่านี้ก็จะได้แกงคั่วหอยหลอดรสชาติเผ็ดร้อนแบบฉบับคนใต้ กินกับข้าวสวยร้อน

“ยำใบบัวบกกะทิ” เป็นการทำน้ำยำโดยโขลกพริกแห้งที่แช่น้ำแล้วจนนุ่ม กับหอมแดงและกระเทียมไทยที่นำไปเผาให้หอม แกะเอาเนื้อมาโขลกให้ละเอียดให้เป็นเนื้อเดียวกัน แล้วเอาไปเคี่ยวกับกะทิให้หอมปรุงรสด้วยน้ำปลา น้ำตาลมะพร้าว และน้ำมะนาว ให้ได้รสชาติเปรี้ยวนำ และเค็มหวานตามกันมา จากนั้นก็ย่างหมูย่างตะไคร้ที่หอมกลิ่นเครื่องหมักอย่างตะไคร้ กระเทียม และพริกไทย ย่างให้สุกหอมและหั่นเป็นชิ้นบางๆ ซอยใบบัวบกให้เป็นเส้นๆ เคล้ากับเครื่องยำอย่างหอมแดงซอย กระเทียมเจียว มะพร้าวคั่ว พริกจินดาซอย และมะเขือเทศราชินีหั่นครึ่ง เคล้ารวมกับน้ำยำเล็กน้อย แล้วจัดใส่จานเสิร์ฟกับหมูย่างตะไคร้ได้เลย

“มะมุด ส้มมุด หรือมะม่วงป่า” แล้วแต่ละท้องถิ่นจะเรียกกัน ซึ่งเจ้ามะมุดหรือส้มมุดที่ว่านี้ เป็นผลไม้พื้นเมืองของภาคใต้ไทย รวมไปถึงอินโดนีเซีย มาเลเซีย พม่า สิงคโปร์ และเวียดนาม ด้วย และยังเป็นผลไม้ในตระกูลเดียวกับมะม่วง เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ผลอ่อนผิวด้านนอกสีเขียวเข้ม พอสุกผิวของเปลือกมีสีเหลืองแกมเขียว เนื้อด้านในสีขาวเช่นเดียวกับมะม่วง มีรสเปรี้ยวกว่า เนื้อแน่น และเหนียวกว่า มันนำมาประกอบอาหารอย่างเอามาใส่ในแกงส้ม แทนมะขามเปียก หรือนำมายำคล้ายกับยำมะม่วง

“แกงสมรม” แกงพื้นถิ่นของคนภาคใต้ โดยส่วนมากนิยมแกงกับเนื้อกุ้งสด รสชาติที่ได้ก็จะหวาน เปรี้ยว เค็ม ตามๆกันมา ส่วนผักที่ใส่ในแกงนั้นก็มีหลากหลายอยากกินไรก็ใส่ลงไปโดยสูตรนี้ใส่มะเขือเปราะ มะเขือพวง ชะอม หน่อไม้ต้ม (อันนี้ขาดไม่ได้เลย) และสะตอ เคี่ยวให้ผักนุ่ม เพียงเท่านี้ก็ได้แกงสมรมอร่อยๆ กินแล้ว

เนื้อแตงโมแกะเม็ดออกให้หมด นำมาปั่นในเครื่องปั่นน้ำ ปั่นให้ละเอียดเข้ากันดี จากนั้นก็เทใส่ถาดหรือภาชนะที่จะใส่แช่ แล้วนำเข้าแช่ในตู้เย็นช่องแช่แข็งเป็นเวลา 1 ½ ชั่วโมง เป็นต้นไปแล้วแต่ความเย็นของตู้เย็นนั้นๆ พอครบกำหนดก็นำมาขูดให้เป็นเกล็ดน้ำแข็งเล็กๆ โดยเริ่มขูดจากขอบมาหาจุดกลาง (โดยการขูดครั้งแรกนั้นน้ำแข็งอาจจะยังไม่เซ็ตตัวเท่าที่ควรเท่าไร ไม่ต้องตกใจไปนะคะ) แล้วนำเข้าแช่ช่องแข็งอีกครั้งประมาณ 1 ชั่วโมงก่อนนำออกมาขูดอีกครั้ง (การขูดหลายๆครั้งทำให้เนื้อของกรานิตามีความเป็นเกล็ดละเอียดมากยิ่งขึ้น) ตักใส่ถ้วยตามด้วยเนื้อแตงโมที่สคูปไว้ โรยด้วยปลาแห้ง เพียงเท่านี้ก็ได้ “กรานิตาแตงโมปลาแห้ง” ไว้กินแก้ดับร้อนกันแล้ว

“โรลครีมชีสลูกตาล” ที่นำวัตถุดิบจากต้นตาลโตนดมาใส่ลงในเมนูนี้ถึง 3 อย่าง น้ำตาลสด น้ำตาลโตนด และลูกตาลอ่อน โดยทั้ง 3 อย่างนี้อยู่ในส่วนของครีมชีสที่เป็นการตีครีมชีสกับน้ำตาลโตนดให้เข้ากันก่อนที่จะผสมตัวน้ำตาลสดเข้าไป บอกเลยว่าตอนตีครีมชีสก็หอมอบอวนไปด้วยกลิ่นของน้ำตาลโตนดไปทั่วห้อง ก่อนจะนำมาผสมรวมกับวิปปิ้งครีมที่ตีไว้ เนื้อครีมชีสที่ได้ก็จะนุ่มเบาหอมกลิ่นน้ำตาลโตนด เปรี้ยวอมหวานนิดๆ

“ยำส้มกะปิทรงเครื่อง” เป็นการนำเอากะปิมาละลายกับกะทิจากนั้นนำไปคั่วให้หอมในกระทะ แล้วปรุงรสด้วยน้ำตาล น้ำปลา น้ำมะนาว และน้ำพริกเผา รสชาติที่ได้ก็หอมๆนวลกะปิ จากนั้นก็นำมาเคล้ากับส้มที่เตรียมไว้ แล้วเพิ่มความพิเศษของยำเข้าไปอีกด้วยการใส้เครื่องอย่างกระเทียมซอย หอมแดงซอย พริกจินดาแดงซอย มะพร้าวคั่ว เคล้าๆให้เข้ากัน จากนั้นก็ตักใส่จานเสิร์ฟพร้อมกับเนื้อปลากะพงแดงที่นำไปเคล้ากับเกลือ พริกไทยเล็กน้อย แล้วนำไปทอดให้หนังกรอบ เนื้อด้านในสุกกำลังดี ตกแต่งด้วยใบผักชี

หมูย่างเมืองตรังของดีของเด่นประจำจังหวัด เรียกได้ว่าใครไปใครมาก็ต้องขอลองลิ้มรสดูสักครั้ง ไม่อย่างนั้นจะเรียกว่ามาไม่ถึงจังหวัดตรังเป็นแน่ ด้วยความเป็นเอกลักษณ์ที่ไม่มีใครเหมือน จะเรียกว่าหมูย่างผสมกับหมูกรอบก็ได้ เนื้อหมูที่ชุ่มฉ่ำไปด้วยความหวานที่เกิดจากน้ำตาลและน้ำผึ้ง หอมกลิ่นเครื่องเทศต่างๆ ย่างให้หนังกรอบแต่เนื้อยังฉ่ำอยู่ สับเป็นชิ้นๆกินเป็นอาหารเช้ากับน้ำจิ้มคู่ใจชาวตรังอย่างคอมเจือง

“แกงคั่วหอยหลอด” ที่ใช้เครื่องแกงคั่วทางใต้ รสชาติจัดจ้าน หอมกลิ่นเครื่องแกง นำมาผัดให้เข้ากันกับหางกะทิ จากนั้นก็ใส่ผักต่างๆอย่างมะเขือเปราะ มะเขือพวง ใบชะพลู พริกขี้หนู พริกชี้ฟ้า เป็นต้น และก็ใส่พระเอกของเราอย่าง หอยหลอดเข้าไป ปรุงรสแค่เกลือสมุทรและน้ำตาลมะพร้าวเท่านั้น ปิดท้ายด้วยความมันกลมกล่อมอย่างหัวกะทิ เพียงเท่านี้ก็จะได้แกงคั่วหอยหลอดรสชาติเผ็ดร้อนแบบฉบับคนใต้ กินกับข้าวสวยร้อน

“ยำใบบัวบกกะทิ” เป็นการทำน้ำยำโดยโขลกพริกแห้งที่แช่น้ำแล้วจนนุ่ม กับหอมแดงและกระเทียมไทยที่นำไปเผาให้หอม แกะเอาเนื้อมาโขลกให้ละเอียดให้เป็นเนื้อเดียวกัน แล้วเอาไปเคี่ยวกับกะทิให้หอมปรุงรสด้วยน้ำปลา น้ำตาลมะพร้าว และน้ำมะนาว ให้ได้รสชาติเปรี้ยวนำ และเค็มหวานตามกันมา จากนั้นก็ย่างหมูย่างตะไคร้ที่หอมกลิ่นเครื่องหมักอย่างตะไคร้ กระเทียม และพริกไทย ย่างให้สุกหอมและหั่นเป็นชิ้นบางๆ ซอยใบบัวบกให้เป็นเส้นๆ เคล้ากับเครื่องยำอย่างหอมแดงซอย กระเทียมเจียว มะพร้าวคั่ว พริกจินดาซอย และมะเขือเทศราชินีหั่นครึ่ง เคล้ารวมกับน้ำยำเล็กน้อย แล้วจัดใส่จานเสิร์ฟกับหมูย่างตะไคร้ได้เลย

“มะมุด ส้มมุด หรือมะม่วงป่า” แล้วแต่ละท้องถิ่นจะเรียกกัน ซึ่งเจ้ามะมุดหรือส้มมุดที่ว่านี้ เป็นผลไม้พื้นเมืองของภาคใต้ไทย รวมไปถึงอินโดนีเซีย มาเลเซีย พม่า สิงคโปร์ และเวียดนาม ด้วย และยังเป็นผลไม้ในตระกูลเดียวกับมะม่วง เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ผลอ่อนผิวด้านนอกสีเขียวเข้ม พอสุกผิวของเปลือกมีสีเหลืองแกมเขียว เนื้อด้านในสีขาวเช่นเดียวกับมะม่วง มีรสเปรี้ยวกว่า เนื้อแน่น และเหนียวกว่า มันนำมาประกอบอาหารอย่างเอามาใส่ในแกงส้ม แทนมะขามเปียก หรือนำมายำคล้ายกับยำมะม่วง

“แกงสมรม” แกงพื้นถิ่นของคนภาคใต้ โดยส่วนมากนิยมแกงกับเนื้อกุ้งสด รสชาติที่ได้ก็จะหวาน เปรี้ยว เค็ม ตามๆกันมา ส่วนผักที่ใส่ในแกงนั้นก็มีหลากหลายอยากกินไรก็ใส่ลงไปโดยสูตรนี้ใส่มะเขือเปราะ มะเขือพวง ชะอม หน่อไม้ต้ม (อันนี้ขาดไม่ได้เลย) และสะตอ เคี่ยวให้ผักนุ่ม เพียงเท่านี้ก็ได้แกงสมรมอร่อยๆ กินแล้ว

เนื้อแตงโมแกะเม็ดออกให้หมด นำมาปั่นในเครื่องปั่นน้ำ ปั่นให้ละเอียดเข้ากันดี จากนั้นก็เทใส่ถาดหรือภาชนะที่จะใส่แช่ แล้วนำเข้าแช่ในตู้เย็นช่องแช่แข็งเป็นเวลา 1 ½ ชั่วโมง เป็นต้นไปแล้วแต่ความเย็นของตู้เย็นนั้นๆ พอครบกำหนดก็นำมาขูดให้เป็นเกล็ดน้ำแข็งเล็กๆ โดยเริ่มขูดจากขอบมาหาจุดกลาง (โดยการขูดครั้งแรกนั้นน้ำแข็งอาจจะยังไม่เซ็ตตัวเท่าที่ควรเท่าไร ไม่ต้องตกใจไปนะคะ) แล้วนำเข้าแช่ช่องแข็งอีกครั้งประมาณ 1 ชั่วโมงก่อนนำออกมาขูดอีกครั้ง (การขูดหลายๆครั้งทำให้เนื้อของกรานิตามีความเป็นเกล็ดละเอียดมากยิ่งขึ้น) ตักใส่ถ้วยตามด้วยเนื้อแตงโมที่สคูปไว้ โรยด้วยปลาแห้ง เพียงเท่านี้ก็ได้ “กรานิตาแตงโมปลาแห้ง” ไว้กินแก้ดับร้อนกันแล้ว

“โรลครีมชีสลูกตาล” ที่นำวัตถุดิบจากต้นตาลโตนดมาใส่ลงในเมนูนี้ถึง 3 อย่าง น้ำตาลสด น้ำตาลโตนด และลูกตาลอ่อน โดยทั้ง 3 อย่างนี้อยู่ในส่วนของครีมชีสที่เป็นการตีครีมชีสกับน้ำตาลโตนดให้เข้ากันก่อนที่จะผสมตัวน้ำตาลสดเข้าไป บอกเลยว่าตอนตีครีมชีสก็หอมอบอวนไปด้วยกลิ่นของน้ำตาลโตนดไปทั่วห้อง ก่อนจะนำมาผสมรวมกับวิปปิ้งครีมที่ตีไว้ เนื้อครีมชีสที่ได้ก็จะนุ่มเบาหอมกลิ่นน้ำตาลโตนด เปรี้ยวอมหวานนิดๆ

“ยำส้มกะปิทรงเครื่อง” เป็นการนำเอากะปิมาละลายกับกะทิจากนั้นนำไปคั่วให้หอมในกระทะ แล้วปรุงรสด้วยน้ำตาล น้ำปลา น้ำมะนาว และน้ำพริกเผา รสชาติที่ได้ก็หอมๆนวลกะปิ จากนั้นก็นำมาเคล้ากับส้มที่เตรียมไว้ แล้วเพิ่มความพิเศษของยำเข้าไปอีกด้วยการใส้เครื่องอย่างกระเทียมซอย หอมแดงซอย พริกจินดาแดงซอย มะพร้าวคั่ว เคล้าๆให้เข้ากัน จากนั้นก็ตักใส่จานเสิร์ฟพร้อมกับเนื้อปลากะพงแดงที่นำไปเคล้ากับเกลือ พริกไทยเล็กน้อย แล้วนำไปทอดให้หนังกรอบ เนื้อด้านในสุกกำลังดี ตกแต่งด้วยใบผักชี

หมูย่างเมืองตรังของดีของเด่นประจำจังหวัด เรียกได้ว่าใครไปใครมาก็ต้องขอลองลิ้มรสดูสักครั้ง ไม่อย่างนั้นจะเรียกว่ามาไม่ถึงจังหวัดตรังเป็นแน่ ด้วยความเป็นเอกลักษณ์ที่ไม่มีใครเหมือน จะเรียกว่าหมูย่างผสมกับหมูกรอบก็ได้ เนื้อหมูที่ชุ่มฉ่ำไปด้วยความหวานที่เกิดจากน้ำตาลและน้ำผึ้ง หอมกลิ่นเครื่องเทศต่างๆ ย่างให้หนังกรอบแต่เนื้อยังฉ่ำอยู่ สับเป็นชิ้นๆกินเป็นอาหารเช้ากับน้ำจิ้มคู่ใจชาวตรังอย่างคอมเจือง

“แกงคั่วหอยหลอด” ที่ใช้เครื่องแกงคั่วทางใต้ รสชาติจัดจ้าน หอมกลิ่นเครื่องแกง นำมาผัดให้เข้ากันกับหางกะทิ จากนั้นก็ใส่ผักต่างๆอย่างมะเขือเปราะ มะเขือพวง ใบชะพลู พริกขี้หนู พริกชี้ฟ้า เป็นต้น และก็ใส่พระเอกของเราอย่าง หอยหลอดเข้าไป ปรุงรสแค่เกลือสมุทรและน้ำตาลมะพร้าวเท่านั้น ปิดท้ายด้วยความมันกลมกล่อมอย่างหัวกะทิ เพียงเท่านี้ก็จะได้แกงคั่วหอยหลอดรสชาติเผ็ดร้อนแบบฉบับคนใต้ กินกับข้าวสวยร้อน

“ยำใบบัวบกกะทิ” เป็นการทำน้ำยำโดยโขลกพริกแห้งที่แช่น้ำแล้วจนนุ่ม กับหอมแดงและกระเทียมไทยที่นำไปเผาให้หอม แกะเอาเนื้อมาโขลกให้ละเอียดให้เป็นเนื้อเดียวกัน แล้วเอาไปเคี่ยวกับกะทิให้หอมปรุงรสด้วยน้ำปลา น้ำตาลมะพร้าว และน้ำมะนาว ให้ได้รสชาติเปรี้ยวนำ และเค็มหวานตามกันมา จากนั้นก็ย่างหมูย่างตะไคร้ที่หอมกลิ่นเครื่องหมักอย่างตะไคร้ กระเทียม และพริกไทย ย่างให้สุกหอมและหั่นเป็นชิ้นบางๆ ซอยใบบัวบกให้เป็นเส้นๆ เคล้ากับเครื่องยำอย่างหอมแดงซอย กระเทียมเจียว มะพร้าวคั่ว พริกจินดาซอย และมะเขือเทศราชินีหั่นครึ่ง เคล้ารวมกับน้ำยำเล็กน้อย แล้วจัดใส่จานเสิร์ฟกับหมูย่างตะไคร้ได้เลย

“มะมุด ส้มมุด หรือมะม่วงป่า” แล้วแต่ละท้องถิ่นจะเรียกกัน ซึ่งเจ้ามะมุดหรือส้มมุดที่ว่านี้ เป็นผลไม้พื้นเมืองของภาคใต้ไทย รวมไปถึงอินโดนีเซีย มาเลเซีย พม่า สิงคโปร์ และเวียดนาม ด้วย และยังเป็นผลไม้ในตระกูลเดียวกับมะม่วง เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ผลอ่อนผิวด้านนอกสีเขียวเข้ม พอสุกผิวของเปลือกมีสีเหลืองแกมเขียว เนื้อด้านในสีขาวเช่นเดียวกับมะม่วง มีรสเปรี้ยวกว่า เนื้อแน่น และเหนียวกว่า มันนำมาประกอบอาหารอย่างเอามาใส่ในแกงส้ม แทนมะขามเปียก หรือนำมายำคล้ายกับยำมะม่วง

“แกงสมรม” แกงพื้นถิ่นของคนภาคใต้ โดยส่วนมากนิยมแกงกับเนื้อกุ้งสด รสชาติที่ได้ก็จะหวาน เปรี้ยว เค็ม ตามๆกันมา ส่วนผักที่ใส่ในแกงนั้นก็มีหลากหลายอยากกินไรก็ใส่ลงไปโดยสูตรนี้ใส่มะเขือเปราะ มะเขือพวง ชะอม หน่อไม้ต้ม (อันนี้ขาดไม่ได้เลย) และสะตอ เคี่ยวให้ผักนุ่ม เพียงเท่านี้ก็ได้แกงสมรมอร่อยๆ กินแล้ว

เนื้อแตงโมแกะเม็ดออกให้หมด นำมาปั่นในเครื่องปั่นน้ำ ปั่นให้ละเอียดเข้ากันดี จากนั้นก็เทใส่ถาดหรือภาชนะที่จะใส่แช่ แล้วนำเข้าแช่ในตู้เย็นช่องแช่แข็งเป็นเวลา 1 ½ ชั่วโมง เป็นต้นไปแล้วแต่ความเย็นของตู้เย็นนั้นๆ พอครบกำหนดก็นำมาขูดให้เป็นเกล็ดน้ำแข็งเล็กๆ โดยเริ่มขูดจากขอบมาหาจุดกลาง (โดยการขูดครั้งแรกนั้นน้ำแข็งอาจจะยังไม่เซ็ตตัวเท่าที่ควรเท่าไร ไม่ต้องตกใจไปนะคะ) แล้วนำเข้าแช่ช่องแข็งอีกครั้งประมาณ 1 ชั่วโมงก่อนนำออกมาขูดอีกครั้ง (การขูดหลายๆครั้งทำให้เนื้อของกรานิตามีความเป็นเกล็ดละเอียดมากยิ่งขึ้น) ตักใส่ถ้วยตามด้วยเนื้อแตงโมที่สคูปไว้ โรยด้วยปลาแห้ง เพียงเท่านี้ก็ได้ “กรานิตาแตงโมปลาแห้ง” ไว้กินแก้ดับร้อนกันแล้ว
Recommended Videos