เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่

Serves
15-18 ชิ้น
Level
2
โรตีทอดหน้ากระฉีก แป้งโรตีทอดร้อนๆ นำมารับประทานคู่กับหน้ากระฉีกเเละครีมกะทิใบเตย รสชาติหวานมัน หอมนุ่ม
INGREDIENTS
น้ำมันพืชสำหรับทามือและทอดโรตี
1 ช้อนโต๊ะ
แผ่นแป้งอเนกประสงค์สำเร็จรูป (1 แพ็ค)
300 กรัม
พิมพ์กดคุกกี้รูปวงกลมขนาด 6.5 ซม.
งาดำคั่วสำหรับตกแต่ง
ใบเตย
10 ใบ
น้ำ
½ ถ้วย
แป้งข้าวเจ้า
2 ช้อนโต๊ะ
น้ำตาลทราย
1 ช้อนโต๊ะ
เกลือสมุทร
¼ ช้อนชา
หัวกะทิ
½ ถ้วย
หางกะทิ
½ ถ้วย
น้ำตาลปี๊บ
¼ ถ้วย+2 ช้อนโต๊ะ
น้ำ
3 ช้อนโต๊ะ
มะพร้าวทึกขูดฝอย
1 ถ้วย
เปลือกส้มเชื่อมส้มซันคิสต์
1 ผล
น้ำ
2 ถ้วย
เกลือสมุทร
½ ช้อนชา
น้ำตาลทราย
1 ถ้วย
METHOD
1. ทำโรตีทอดโดยทามือด้วยน้ำมันพืชกดพิมพ์คุกกี้บนแผ่นแป้งเป็นแผ่นกลมเล็กเรียงบนพลาสติกแร็ป นำเข้าแช่ในตู้เย็นช่องธรรมดานานประมาณ 10 นาที เพื่อให้เซ็ตตัวเล็กน้อย ตั้งกระทะเทฟล่อนก้นแบนบนไฟอ่อน ใส่น้ำมัน ½ ช้อนโต๊ะ กลอกน้ำมันให้ทั่วกระทะ นำโรตีลงทอดจนสุกเหลือง ประมาณด้านละ 30 วินาที ตักขึ้น เตรียมไว้
2. ทำครีมกะทิใบเตยโดยตัดหรือซอยใบเตยเป็นชิ้นเล็กๆใส่โถปั่น ใส่น้ำ ปั่นจนน้ำเป็นสีเขียวข้น กรองด้วยผ้าขาวบาง จะได้น้ำใบเตยปริมาณ ½ ถ้วย ผสมแป้งข้าวเจ้า น้ำตาลเกลือ น้ำใบเตยคั้น หัวกะทิ และหางกะทิ เข้าด้วยกันในกระทะทอง ยกขึ้นตั้งบนไฟกลางค่อนข้างอ่อน กวนจนแป้งสุกและส่วนผสมข้นขึ้นเล็กน้อย ประมาณ 15 นาที ปิดไฟ ตักใส่ถ้วยพักไว้ (ครีมกะทิใบเตยจะข้นขึ้นอีกเล็กน้อย)
3. ทาหน้ากระฉีกโดยใส่น้ำตาลปี๊บและน้ำลงในกระทะทอง ยกขึ้นตั้งบนไฟกลาง คนจนน้ำตาลละลายและเดือด เคี่ยวต่อให้เหนียวเล็กน้อย จึงใส่มะพร้าว ผัดจนมะพร้าวสุกและสีเข้มขึ้น ปิดไฟ ตักใส่จาน พักไว้
4. ทำเปลือกส้มเชื่อมโดยปอกเปลือกส้มตัดเป็นเส้นยาวประมาณ 15 ซม. ตั้งหม้อน้ำ 1ถ้วยใส่เกลือบนไฟกลาง พอน้ำเดือดลดเป็นไฟอ่อน ใส่เปลือกส้มลงต้ม 2 นาที ตักขึ้นพักให้สะเด็ดน้ำ ตั้งหม้อน้ำที่เหลือบนไฟกลางใส่น้ำตาล พอเดือดลดเป็นไฟอ่อน ใส่เปลือกส้มลงต้ม 10-15 นาที เปลือกส้มจะนิ่มและใสขึ้น ปิดไฟ พักเปลือกส้มไว้ในน้ำเชื่อมที่เคี่ยว
5. จัดเสิร์ฟโดยปาดครีมกะทิใบเตย ½ช้อนโต๊ะ บนแผ่นโรตี ตักหน้ากระฉีกใส่ มัดด้วยเปลือกส้มเชื่อมพอหลวมๆ โรยงาดำ เสิร์ฟ
Recommended Articles

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

ปลาเค็มทอดกะทิ เป็นเมนูเด็ดประจำ ‘ร้านยายปวด‘ ร้านอาหารพื้นเมืองเก่าแก่ของจังหวัดชุมพร เรียกว่าใครมาร้านยายปวดต้องสั่ง! ถ้าไม่สั่งถือว่ามาไม่ถึง! วัตถุดิบหลักๆ จะใช้ปลาอินทรีเค็มทอดมาเคี่ยวกับหัวกะทิจนแตกมัน เติมรสหวานด้วยน้ำตาลมะพร้าว ผัดจนเปลี่ยนสี รสจะออกหวานเค็มมัน หอมกลิ่นกะทิ กินคู่กับผักสด หอมแดง กระเทียมและพริกขี้หนูซอยคล้ายเมนูประเภทน้ำพริก ลักษณะหน้าตาถึงจะดูไม่เป็นรูปเป็นร่าง สีออกคล้ำๆ หน่อย แต่บอกเลยว่าอร่อยมาก

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

แก่นตะวัน หรือ แห้วบัวตอง เป็นพืชสมุนไพรไทย มีสารสำคัญคือ อินนูลิน (Inulin) มีคุณสมบัติเป็นพรีไบโอติกให้กับเเบคทีเรียที่ดีในร่างกาย มีเส้นใยสูงช่วยให้อิ่มนาน ช่วยเรื่องการขับถ่าย โดยสูตรนี้นำแก่นตะวันมาต้มกับน้ำใบเตย ให้ออกรสหวานอ่อนๆหอมกลิ่นใบเตย กินร้อนๆ เป็นของว่างกินเพลินที่ดีต่อสุขภาพด้วย

ข้าวเหนียวมูนเป็นอาหารที่อยู่คู่คนไทยมาเนิ่นนาน ด้วยความนุ่มละมุนของข้าวบวกกับความหอมหวานเค็มมันของกะทิที่ผสมผสานกันจนกลายเป็นเสน่ห์มัดใจคนที่ได้ลิ้มลอง นิยมกินคู่กับผลไม้รสหวานอย่างมะม่วง ทุเรียนและขนุนหรือทำเป็นข้าวเหนียวหน้าต่างๆ เช่น หน้าสังขยา หน้ากระฉีก สำหรับมือใหม่ที่พึ่งหัดมูนข้าวเหนียวหรือคนที่เคยมูนข้าวเหนียวแล้วไม่สำเร็จอาจมองว่าการมูนข้าวเหนียวเป็นเรื่องยาก ซึ่งจริงๆขั้นตอนไม่ได้ซับซ้อน เพียงแต่ต้องรู้และเข้าใจการเลือกวัตถุดิบที่ถูกต้อง

ขนมไทยทำง่าย มือใหม่ก็ทำได้กับเมนู กล้วยบวชชี เคล็ดลับคือการเลือกกล้วยน้ำว้าที่สุกกำลังดีไม่สุกนิ่มเกินไปหรือดิบจนฝาด นำมาต้มจนเปลือกปริเพื่อไล่ยางออกจะทำให้กล้วยเนื้อเเนน ไม่เละเเละไม่ดำ ปรุงรสกะทิด้วยน้ำตาลมะพร้าวเเท้เกลือนิดหน่อย ใส่กล้วยลงต้มให้รสชาติซึมเข้าเนื้อ โรยงาขาวคั่ว เพียงเท่านี้ก็ได้เอาไว้กินกันทั้งครอบครัวเเล้ว

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

ปลาเค็มทอดกะทิ เป็นเมนูเด็ดประจำ ‘ร้านยายปวด‘ ร้านอาหารพื้นเมืองเก่าแก่ของจังหวัดชุมพร เรียกว่าใครมาร้านยายปวดต้องสั่ง! ถ้าไม่สั่งถือว่ามาไม่ถึง! วัตถุดิบหลักๆ จะใช้ปลาอินทรีเค็มทอดมาเคี่ยวกับหัวกะทิจนแตกมัน เติมรสหวานด้วยน้ำตาลมะพร้าว ผัดจนเปลี่ยนสี รสจะออกหวานเค็มมัน หอมกลิ่นกะทิ กินคู่กับผักสด หอมแดง กระเทียมและพริกขี้หนูซอยคล้ายเมนูประเภทน้ำพริก ลักษณะหน้าตาถึงจะดูไม่เป็นรูปเป็นร่าง สีออกคล้ำๆ หน่อย แต่บอกเลยว่าอร่อยมาก

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

แก่นตะวัน หรือ แห้วบัวตอง เป็นพืชสมุนไพรไทย มีสารสำคัญคือ อินนูลิน (Inulin) มีคุณสมบัติเป็นพรีไบโอติกให้กับเเบคทีเรียที่ดีในร่างกาย มีเส้นใยสูงช่วยให้อิ่มนาน ช่วยเรื่องการขับถ่าย โดยสูตรนี้นำแก่นตะวันมาต้มกับน้ำใบเตย ให้ออกรสหวานอ่อนๆหอมกลิ่นใบเตย กินร้อนๆ เป็นของว่างกินเพลินที่ดีต่อสุขภาพด้วย

ข้าวเหนียวมูนเป็นอาหารที่อยู่คู่คนไทยมาเนิ่นนาน ด้วยความนุ่มละมุนของข้าวบวกกับความหอมหวานเค็มมันของกะทิที่ผสมผสานกันจนกลายเป็นเสน่ห์มัดใจคนที่ได้ลิ้มลอง นิยมกินคู่กับผลไม้รสหวานอย่างมะม่วง ทุเรียนและขนุนหรือทำเป็นข้าวเหนียวหน้าต่างๆ เช่น หน้าสังขยา หน้ากระฉีก สำหรับมือใหม่ที่พึ่งหัดมูนข้าวเหนียวหรือคนที่เคยมูนข้าวเหนียวแล้วไม่สำเร็จอาจมองว่าการมูนข้าวเหนียวเป็นเรื่องยาก ซึ่งจริงๆขั้นตอนไม่ได้ซับซ้อน เพียงแต่ต้องรู้และเข้าใจการเลือกวัตถุดิบที่ถูกต้อง

ขนมไทยทำง่าย มือใหม่ก็ทำได้กับเมนู กล้วยบวชชี เคล็ดลับคือการเลือกกล้วยน้ำว้าที่สุกกำลังดีไม่สุกนิ่มเกินไปหรือดิบจนฝาด นำมาต้มจนเปลือกปริเพื่อไล่ยางออกจะทำให้กล้วยเนื้อเเนน ไม่เละเเละไม่ดำ ปรุงรสกะทิด้วยน้ำตาลมะพร้าวเเท้เกลือนิดหน่อย ใส่กล้วยลงต้มให้รสชาติซึมเข้าเนื้อ โรยงาขาวคั่ว เพียงเท่านี้ก็ได้เอาไว้กินกันทั้งครอบครัวเเล้ว

‘น้อยหน่า’ ผลไม้ไทยรสหอมหวานเนื้อละมุนลิ้นที่นอกจากกินเป็นผลไม้แล้วคนโบราณยังนิยมนำมาทำเป็นของหวานได้อีกด้วยกับเมนู น้อยหน่าน้ำกะทิ ซึ่งจะใช้น้อยหน่าหนังพันธุ์เพชรปากช่อง ความพิเศษของพันธุ์นี้คือ ลูกใหญ่ เนื้อเยอะ เมื่อสุกกำลังดีเนื้อจะนุ่มหนึบไม่เละง่าย ที่สำคัญเมล็ดน้อย เป็นเมนูขนมหวานที่ไม่อยากให้พลาดในฤดูกาลนี้จริงๆ

ปลาเค็มทอดกะทิ เป็นเมนูเด็ดประจำ ‘ร้านยายปวด‘ ร้านอาหารพื้นเมืองเก่าแก่ของจังหวัดชุมพร เรียกว่าใครมาร้านยายปวดต้องสั่ง! ถ้าไม่สั่งถือว่ามาไม่ถึง! วัตถุดิบหลักๆ จะใช้ปลาอินทรีเค็มทอดมาเคี่ยวกับหัวกะทิจนแตกมัน เติมรสหวานด้วยน้ำตาลมะพร้าว ผัดจนเปลี่ยนสี รสจะออกหวานเค็มมัน หอมกลิ่นกะทิ กินคู่กับผักสด หอมแดง กระเทียมและพริกขี้หนูซอยคล้ายเมนูประเภทน้ำพริก ลักษณะหน้าตาถึงจะดูไม่เป็นรูปเป็นร่าง สีออกคล้ำๆ หน่อย แต่บอกเลยว่าอร่อยมาก

ขนมปลากริมไข่เต่าเดิมเรียกว่า ขนมแชงมา หรือ แฉ่งม้า หรือคำที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า ขนมสองหม้อ จากลักษณะตัวขนมที่แยกออกเป็น 2 หม้อ 2 สี ปลากริมหม้อหวาน ไข่เต่าหม้อเค็ม ตัวปลากริมหรือ ‘ตัวหวาน’ ลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ตรงกลางอ้วน หัวท้ายเรียวคล้ายเส้นลอดช่อง ตัวสีน้ำตาลรสหอมหวานจากน้ำตาลมะพร้าว ส่วนไข่เต่าหรือ ‘ตัวเค็ม’ ลักษณะกลมรี คล้ายไข่เต่า สีขาว รสชาติเค็มๆ มันๆ จากหัวกะทิ ส่วนเวลากินก็อยู่ที่ว่าใครชอบกินฝั่งไหนมากกว่า แต่แนะนำให้กินพร้อมกันจะอร่อยที่สุด ตักใส่ถ้วยอย่างละครึ่ง คนให้เข้ากัน หนึ่งคำได้ครบทุกรสทั้งหอม หวาน มัน เค็มกลมกล่อมลงตัวพอดี

แก่นตะวัน หรือ แห้วบัวตอง เป็นพืชสมุนไพรไทย มีสารสำคัญคือ อินนูลิน (Inulin) มีคุณสมบัติเป็นพรีไบโอติกให้กับเเบคทีเรียที่ดีในร่างกาย มีเส้นใยสูงช่วยให้อิ่มนาน ช่วยเรื่องการขับถ่าย โดยสูตรนี้นำแก่นตะวันมาต้มกับน้ำใบเตย ให้ออกรสหวานอ่อนๆหอมกลิ่นใบเตย กินร้อนๆ เป็นของว่างกินเพลินที่ดีต่อสุขภาพด้วย

ข้าวเหนียวมูนเป็นอาหารที่อยู่คู่คนไทยมาเนิ่นนาน ด้วยความนุ่มละมุนของข้าวบวกกับความหอมหวานเค็มมันของกะทิที่ผสมผสานกันจนกลายเป็นเสน่ห์มัดใจคนที่ได้ลิ้มลอง นิยมกินคู่กับผลไม้รสหวานอย่างมะม่วง ทุเรียนและขนุนหรือทำเป็นข้าวเหนียวหน้าต่างๆ เช่น หน้าสังขยา หน้ากระฉีก สำหรับมือใหม่ที่พึ่งหัดมูนข้าวเหนียวหรือคนที่เคยมูนข้าวเหนียวแล้วไม่สำเร็จอาจมองว่าการมูนข้าวเหนียวเป็นเรื่องยาก ซึ่งจริงๆขั้นตอนไม่ได้ซับซ้อน เพียงแต่ต้องรู้และเข้าใจการเลือกวัตถุดิบที่ถูกต้อง

ขนมไทยทำง่าย มือใหม่ก็ทำได้กับเมนู กล้วยบวชชี เคล็ดลับคือการเลือกกล้วยน้ำว้าที่สุกกำลังดีไม่สุกนิ่มเกินไปหรือดิบจนฝาด นำมาต้มจนเปลือกปริเพื่อไล่ยางออกจะทำให้กล้วยเนื้อเเนน ไม่เละเเละไม่ดำ ปรุงรสกะทิด้วยน้ำตาลมะพร้าวเเท้เกลือนิดหน่อย ใส่กล้วยลงต้มให้รสชาติซึมเข้าเนื้อ โรยงาขาวคั่ว เพียงเท่านี้ก็ได้เอาไว้กินกันทั้งครอบครัวเเล้ว
Recommended Videos