เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่

หมูสะเต๊ะ อาหารรสเลิศที่ใคร ๆ ก็ชอบทาน ด้วยกลิ่นเครื่องเทศอันเย้ายวน ห่อหุ้มรสชาติอันเป็นเอกลักษณ์ พร้อมกับน้ำจิ้มถั่วสุดมันรสจัดจ้าน แทรกด้วยอาจาดเปรี้ยวสดชื่น ต้องบอกได้เลยว่า มีกี่ไม้ก็กินหมดได้ รสชาติอร่อยสุดๆ
INGREDIENTS
เนื้อหมูสันนอกติดมัน
150 กรัม
หัวกะทิ
1/2 ถ้วย
น้ำตาลทรายขาว
1 1/2 ช้อนโต๊ะ
เกลือสมุทร
1 ช้อนชา
ผงกระหรี่
1 ช้อนชา
ผงขมิ้น
1 ช้อนชา
ขนมปังปิ้งสำหรับจัดเสิร์ฟ
อุปกรณ์ ไม้ปลายแหลมสำหรับเสียบ เตาถ่าน
หัวกะทิ
1 ถ้วย
น้ำพริกแกงมัสมั่น
1 1/2 ช้อนโต๊ะ
น้ำมะขามเปียก
1/2 ช้อนโต๊ะ
น้ำตาลมะพร้าว
1 ช้อนโต๊ะ
เกลือสมุทร
1 ช้อนชา
ถั่วลิสงคั่วบด
1/2 ถ้วย
งาขาวคั่วบด
2 ช้อนโต๊ะ
น้ำ
2 ช้อนโต๊ะ
น้ำมันพริกเผา
1-2 ช้อนโต๊ะ
น้ำตาลทรายขาว
1 1/2 ถ้วย
น้ำส้มสายชู
1/2 ถ้วย
เกลือสมุทร
2 ช้อนชา
น้ำ
1 1/2 ถ้วย
แตงกวา พริกชี้ฟ้าแดง หอมแดง และผักชีเด็ดใบสำหรับจัดเสิร์ฟ
METHOD
1. ล้างเนื้อหมูให้สะอาด ซับให้แห้ง หั่นเนื้อหมูเป็นชิ้นบาง ใส่ถ้วย หมักหมูสะเต๊ะโดยใส่หัวกะทิ น้ำตาล เกลือ ผงกระหรี่ และผงขมิ้น คนให้เข้ากัน ใส่หมู คลุกเคล้าส่วนผสมให้เข้ากัน หมักไว้ในตู้เย็นช่องธรรมดานาน 15 นาที
2. ทำอาจาดโดยใส่ น้ำตาล น้ำส้มสายชู เกลือ และน้ำลงในหม้อ ตั้งบนไฟกลางข้างอ่อน เคี่ยวให้เดืดจนน้ำตาลละลายและเหนียวเล็กน้อย ปิดไฟ พักจนเย็นสนิทแล้วจึงใส่แตงกวา พริกชี้ฟ้า หอมแดง และผักชี
3. ทำน้ำจิ้มหมูสะเต๊ะโดยตั้งกระทะบนไฟกลาง พอร้อนใส่หัวกะทิ ¼ ถ้วย ผัดให้แตกมัน ใส่น้ำพริกแกงมัสมั่นลงผัดในกระทะจนมีกลิ่นหอม ใส่หัวกะทิที่เหลือ ปรุงรสด้วยน้ำมะขามเปียก น้ำตาลมะพร้าว และเกลือ คนส่วนผสมทุกอย่างให้เข้ากัน ใส่ถั่วลิสง งาขาว และน้ำ เคี่ยวจนส่วนผสมข้นขึ้นเล็กน้อย ใส่น้ำมันพริกเผา คนให้เข้ากัน ปิดไฟ พักไว้
4. นำไม้เสียบหมูสะเต๊ะไปแช่น้ำ 30 นาที นำหมูที่หมักไว้มาเสียบไม้จนหมด ตั้งเตาย่างบนไฟกลาง พอร้อน นำเนื้อหมูเสียบไม้ลงย่างจนสุกเหลืองทั้งสองด้าน ยกขึ้นใส่จานพักไว้
5. เสิร์ฟหมูสะเต๊ะกับน้ำจิ้มหมูสะเต๊ะ น้ำจิ้มอาจาด และขนมปังปิ้ง
Recommended Articles

ความอร่อยของแป้งนุ่มๆ ที่ผสมกันระหว่างแป้งข้าวเหนียว แป้งมัน และน้ำ ปรับโฉมแบบเบาๆ ด้วยเม็ดบัวลอยหลากสี ที่เกิดจากการนำใบเตย ฟักทอง หรือดอกอัญชันมาช่วยให้แป้งเปลี่ยนสี แต่เรายังสามารถเพิ่มความคิ้วท์ได้อีก ด้วยการปั้นแป้งให้เป็นดอกไม้สวยงาม ซึ่งก็ไม่ได้ยากเลย เริ่มที่กลีบดอกไม้สีขาว ปั้นเป็นก้อนกลมเล็กๆ ขนาดเท่าๆ กัน ทำเช่นเดียวกันกับแป้งสีเหลือง จากนั้นนำเม็ดบัวลอยสีเหลืองไว้ตรงกลางและค่อยๆ นำเม็ดบัวลอยสีขาวมาติดรอบๆ แป้งสีเหลืองจนครบเป็นกลีบดอกไม้ นำไปต้มให้สุก ก็ได้บัวลอยดอกไม้สุดคิ้วท์ รับประทานกับน้ำกะทิต้มกับใบเตยหอมๆ เพิ่มรสชาติด้วยเกลือสมุทรและน้ำตาลมะพร้าว

ขนมจีนน้ำพริกจัดเป็นอาหารมงคล นิยมทำในงานเลี้ยงพระ ทำบุญ หรือในโอกาสพิเศษต่างๆ เป็นตำรับหนึ่งที่มีผักเครื่องเคียงมากอย่าง ด้วยน้ำพริกให้รสชาติหวานเปรี้ยว เค็ม มัน มีเครื่องเคียงเป็นผักนานาชนิด รับประทานคู่กันแล้วช่วยเสริมรส ตำรับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท ในหนังสือตำรับสายเยาวภา ระบุถึงเหมือด หมายถึงผักเคียง เครื่องเคียงต่างๆ ซึ่งมีมากกว่า 11 ชนิด คือ เหมือดมะละกอ หัวปลีซอย ผักดิบ ผักผัด ผักชุบแป้งทอด พริกแห้งทอด ทอดมันกรอบ (กุ้งฝอย หรือถั่วเขียว) ทอดมันปลาหรือกุ้ง ไข่ต้มแข็ง แจงลอน ข้าวเม่าทอดและกล้วยแขก ซึ่งตำรับปัจจุบันก็ย่นย่อลงไปมาก เหลือไว้เพียงพริกแห้งทอด ผักบุ้งทอดบ้าง หรือผักตามแต่ละร้านจะมี

หนึ่งในอาหารฤดูร้อนของคนโบราณจะขาดขนมจีนซาวน้ำไปไม่ได้เลย ถึงจะเป็นสำหรับคาวแต่รับประทานแล้วสดชื่นจากรสชาติหวานหอมของสับปะรด หัวกะทิคั้นสดรสชาติหวานหอม รับประทานกับแจงลอนซึ่งทำให้อร่อยรสชาติต้องไม่คาว กินแบบคลุกเคล้ากับเครื่องทำหมดได้แก่ ขิงอ่อนซอยบางๆ กระเทียมซอยเป็นแผ่นบางๆ กุ้งแห้งป่นฟู ปรุงรสให้ครบได้แก่ น้ำตาล (ถ้าเป็นแถบราชบุรี เพชรบุรีจะใช้น้ำตาลมะพร้าวเคี่ยว) น้ำปลา (พริกขี้หนูซอย) บีบมะนาวเล็กน้อย เป็นขนมจีนที่เรียกว่าอร่อยตำรับใครตำรับมันเพราะเเล้วแต่รสชาติที่ถูกใจของคนปรุง แต่โดยรวมแล้วเมนูนี้รับประทานแล้วอร่อยสดชื่นรับหน้าร้อนแน่นอน

'อินทนิล' ขนมไทยชื่อไพเราะ สมัยนี้หากินยาก อาจจะด้วยบางคนกลายเป็นเรียกว่า 'หยกสด' ทั้งที่แท้จริงแล้ว 'อินทนิล' มาจากชื่อไม้ยืนต้นมีดอกเป็นช่อสีม่วงสด หรือม่วงอมชมพูสวยงาม จริงๆแล้วหยกสดมีวิธีทำเหมือนกันกับอินทนิล เพียงแต่ใช้สีธรรมชาติคนละอย่าง หยกสดใช้สีเขียวจากใบเตย ส่วนอินทนิลได้สีม่วงจากดอกอัญชันบีบด้วยน้ำมะนาว อินทนิลมีจุดเด่นตรงเนื้อขนมนุ่มหนึบลื่นคอ กินกับน้ำกะทิหวานเค็ม หอมกลิ่นอบควันเทียนอันเป็นเอกลักษณ์

พระรามลงสรง จัดเป็นอาหารโบราณอย่างหนึ่งที่หากินยาก ปกติจะขายเป็นข้าวพระรามลงสรง คือน้ำแกงสีเหลืองคล้ายกับน้ำราดสะเต๊ะราดไปบนข้าวที่มีหมูและผักบุ้งลวกวางอยู่ คำว่าพระรามหมายถึงผักบุ้งจีนสีเขียว ส่วนลงสรงเปรียบถึงการเอาผักบุ้งลงลวกในน้ำ คาดเดากันว่าพระรามลงสรงน่าจะมาจากกับข้าวจานหนึ่งของชาวจีนแต๋จิ๋วชื่อว่า 'ซาแต๊ปิ้ง' ซึ่งมีลักษณะคล้ายกันคือมีผักบุ้งลวก หมู ตับ ราดบนข้าวหรือหมี่ขาว กินราดน้ำแกงคล้ายสะเต๊ะ มีน้ำพริกเผาและน้ำส้มพริกดองเสิร์ฟเคียงเพื่อตัดเลี่ยน

ความอร่อยของแป้งนุ่มๆ ที่ผสมกันระหว่างแป้งข้าวเหนียว แป้งมัน และน้ำ ปรับโฉมแบบเบาๆ ด้วยเม็ดบัวลอยหลากสี ที่เกิดจากการนำใบเตย ฟักทอง หรือดอกอัญชันมาช่วยให้แป้งเปลี่ยนสี แต่เรายังสามารถเพิ่มความคิ้วท์ได้อีก ด้วยการปั้นแป้งให้เป็นดอกไม้สวยงาม ซึ่งก็ไม่ได้ยากเลย เริ่มที่กลีบดอกไม้สีขาว ปั้นเป็นก้อนกลมเล็กๆ ขนาดเท่าๆ กัน ทำเช่นเดียวกันกับแป้งสีเหลือง จากนั้นนำเม็ดบัวลอยสีเหลืองไว้ตรงกลางและค่อยๆ นำเม็ดบัวลอยสีขาวมาติดรอบๆ แป้งสีเหลืองจนครบเป็นกลีบดอกไม้ นำไปต้มให้สุก ก็ได้บัวลอยดอกไม้สุดคิ้วท์ รับประทานกับน้ำกะทิต้มกับใบเตยหอมๆ เพิ่มรสชาติด้วยเกลือสมุทรและน้ำตาลมะพร้าว

ขนมจีนน้ำพริกจัดเป็นอาหารมงคล นิยมทำในงานเลี้ยงพระ ทำบุญ หรือในโอกาสพิเศษต่างๆ เป็นตำรับหนึ่งที่มีผักเครื่องเคียงมากอย่าง ด้วยน้ำพริกให้รสชาติหวานเปรี้ยว เค็ม มัน มีเครื่องเคียงเป็นผักนานาชนิด รับประทานคู่กันแล้วช่วยเสริมรส ตำรับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท ในหนังสือตำรับสายเยาวภา ระบุถึงเหมือด หมายถึงผักเคียง เครื่องเคียงต่างๆ ซึ่งมีมากกว่า 11 ชนิด คือ เหมือดมะละกอ หัวปลีซอย ผักดิบ ผักผัด ผักชุบแป้งทอด พริกแห้งทอด ทอดมันกรอบ (กุ้งฝอย หรือถั่วเขียว) ทอดมันปลาหรือกุ้ง ไข่ต้มแข็ง แจงลอน ข้าวเม่าทอดและกล้วยแขก ซึ่งตำรับปัจจุบันก็ย่นย่อลงไปมาก เหลือไว้เพียงพริกแห้งทอด ผักบุ้งทอดบ้าง หรือผักตามแต่ละร้านจะมี

หนึ่งในอาหารฤดูร้อนของคนโบราณจะขาดขนมจีนซาวน้ำไปไม่ได้เลย ถึงจะเป็นสำหรับคาวแต่รับประทานแล้วสดชื่นจากรสชาติหวานหอมของสับปะรด หัวกะทิคั้นสดรสชาติหวานหอม รับประทานกับแจงลอนซึ่งทำให้อร่อยรสชาติต้องไม่คาว กินแบบคลุกเคล้ากับเครื่องทำหมดได้แก่ ขิงอ่อนซอยบางๆ กระเทียมซอยเป็นแผ่นบางๆ กุ้งแห้งป่นฟู ปรุงรสให้ครบได้แก่ น้ำตาล (ถ้าเป็นแถบราชบุรี เพชรบุรีจะใช้น้ำตาลมะพร้าวเคี่ยว) น้ำปลา (พริกขี้หนูซอย) บีบมะนาวเล็กน้อย เป็นขนมจีนที่เรียกว่าอร่อยตำรับใครตำรับมันเพราะเเล้วแต่รสชาติที่ถูกใจของคนปรุง แต่โดยรวมแล้วเมนูนี้รับประทานแล้วอร่อยสดชื่นรับหน้าร้อนแน่นอน

'อินทนิล' ขนมไทยชื่อไพเราะ สมัยนี้หากินยาก อาจจะด้วยบางคนกลายเป็นเรียกว่า 'หยกสด' ทั้งที่แท้จริงแล้ว 'อินทนิล' มาจากชื่อไม้ยืนต้นมีดอกเป็นช่อสีม่วงสด หรือม่วงอมชมพูสวยงาม จริงๆแล้วหยกสดมีวิธีทำเหมือนกันกับอินทนิล เพียงแต่ใช้สีธรรมชาติคนละอย่าง หยกสดใช้สีเขียวจากใบเตย ส่วนอินทนิลได้สีม่วงจากดอกอัญชันบีบด้วยน้ำมะนาว อินทนิลมีจุดเด่นตรงเนื้อขนมนุ่มหนึบลื่นคอ กินกับน้ำกะทิหวานเค็ม หอมกลิ่นอบควันเทียนอันเป็นเอกลักษณ์

พระรามลงสรง จัดเป็นอาหารโบราณอย่างหนึ่งที่หากินยาก ปกติจะขายเป็นข้าวพระรามลงสรง คือน้ำแกงสีเหลืองคล้ายกับน้ำราดสะเต๊ะราดไปบนข้าวที่มีหมูและผักบุ้งลวกวางอยู่ คำว่าพระรามหมายถึงผักบุ้งจีนสีเขียว ส่วนลงสรงเปรียบถึงการเอาผักบุ้งลงลวกในน้ำ คาดเดากันว่าพระรามลงสรงน่าจะมาจากกับข้าวจานหนึ่งของชาวจีนแต๋จิ๋วชื่อว่า 'ซาแต๊ปิ้ง' ซึ่งมีลักษณะคล้ายกันคือมีผักบุ้งลวก หมู ตับ ราดบนข้าวหรือหมี่ขาว กินราดน้ำแกงคล้ายสะเต๊ะ มีน้ำพริกเผาและน้ำส้มพริกดองเสิร์ฟเคียงเพื่อตัดเลี่ยน

ความอร่อยของแป้งนุ่มๆ ที่ผสมกันระหว่างแป้งข้าวเหนียว แป้งมัน และน้ำ ปรับโฉมแบบเบาๆ ด้วยเม็ดบัวลอยหลากสี ที่เกิดจากการนำใบเตย ฟักทอง หรือดอกอัญชันมาช่วยให้แป้งเปลี่ยนสี แต่เรายังสามารถเพิ่มความคิ้วท์ได้อีก ด้วยการปั้นแป้งให้เป็นดอกไม้สวยงาม ซึ่งก็ไม่ได้ยากเลย เริ่มที่กลีบดอกไม้สีขาว ปั้นเป็นก้อนกลมเล็กๆ ขนาดเท่าๆ กัน ทำเช่นเดียวกันกับแป้งสีเหลือง จากนั้นนำเม็ดบัวลอยสีเหลืองไว้ตรงกลางและค่อยๆ นำเม็ดบัวลอยสีขาวมาติดรอบๆ แป้งสีเหลืองจนครบเป็นกลีบดอกไม้ นำไปต้มให้สุก ก็ได้บัวลอยดอกไม้สุดคิ้วท์ รับประทานกับน้ำกะทิต้มกับใบเตยหอมๆ เพิ่มรสชาติด้วยเกลือสมุทรและน้ำตาลมะพร้าว

ขนมจีนน้ำพริกจัดเป็นอาหารมงคล นิยมทำในงานเลี้ยงพระ ทำบุญ หรือในโอกาสพิเศษต่างๆ เป็นตำรับหนึ่งที่มีผักเครื่องเคียงมากอย่าง ด้วยน้ำพริกให้รสชาติหวานเปรี้ยว เค็ม มัน มีเครื่องเคียงเป็นผักนานาชนิด รับประทานคู่กันแล้วช่วยเสริมรส ตำรับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท ในหนังสือตำรับสายเยาวภา ระบุถึงเหมือด หมายถึงผักเคียง เครื่องเคียงต่างๆ ซึ่งมีมากกว่า 11 ชนิด คือ เหมือดมะละกอ หัวปลีซอย ผักดิบ ผักผัด ผักชุบแป้งทอด พริกแห้งทอด ทอดมันกรอบ (กุ้งฝอย หรือถั่วเขียว) ทอดมันปลาหรือกุ้ง ไข่ต้มแข็ง แจงลอน ข้าวเม่าทอดและกล้วยแขก ซึ่งตำรับปัจจุบันก็ย่นย่อลงไปมาก เหลือไว้เพียงพริกแห้งทอด ผักบุ้งทอดบ้าง หรือผักตามแต่ละร้านจะมี

หนึ่งในอาหารฤดูร้อนของคนโบราณจะขาดขนมจีนซาวน้ำไปไม่ได้เลย ถึงจะเป็นสำหรับคาวแต่รับประทานแล้วสดชื่นจากรสชาติหวานหอมของสับปะรด หัวกะทิคั้นสดรสชาติหวานหอม รับประทานกับแจงลอนซึ่งทำให้อร่อยรสชาติต้องไม่คาว กินแบบคลุกเคล้ากับเครื่องทำหมดได้แก่ ขิงอ่อนซอยบางๆ กระเทียมซอยเป็นแผ่นบางๆ กุ้งแห้งป่นฟู ปรุงรสให้ครบได้แก่ น้ำตาล (ถ้าเป็นแถบราชบุรี เพชรบุรีจะใช้น้ำตาลมะพร้าวเคี่ยว) น้ำปลา (พริกขี้หนูซอย) บีบมะนาวเล็กน้อย เป็นขนมจีนที่เรียกว่าอร่อยตำรับใครตำรับมันเพราะเเล้วแต่รสชาติที่ถูกใจของคนปรุง แต่โดยรวมแล้วเมนูนี้รับประทานแล้วอร่อยสดชื่นรับหน้าร้อนแน่นอน

'อินทนิล' ขนมไทยชื่อไพเราะ สมัยนี้หากินยาก อาจจะด้วยบางคนกลายเป็นเรียกว่า 'หยกสด' ทั้งที่แท้จริงแล้ว 'อินทนิล' มาจากชื่อไม้ยืนต้นมีดอกเป็นช่อสีม่วงสด หรือม่วงอมชมพูสวยงาม จริงๆแล้วหยกสดมีวิธีทำเหมือนกันกับอินทนิล เพียงแต่ใช้สีธรรมชาติคนละอย่าง หยกสดใช้สีเขียวจากใบเตย ส่วนอินทนิลได้สีม่วงจากดอกอัญชันบีบด้วยน้ำมะนาว อินทนิลมีจุดเด่นตรงเนื้อขนมนุ่มหนึบลื่นคอ กินกับน้ำกะทิหวานเค็ม หอมกลิ่นอบควันเทียนอันเป็นเอกลักษณ์

พระรามลงสรง จัดเป็นอาหารโบราณอย่างหนึ่งที่หากินยาก ปกติจะขายเป็นข้าวพระรามลงสรง คือน้ำแกงสีเหลืองคล้ายกับน้ำราดสะเต๊ะราดไปบนข้าวที่มีหมูและผักบุ้งลวกวางอยู่ คำว่าพระรามหมายถึงผักบุ้งจีนสีเขียว ส่วนลงสรงเปรียบถึงการเอาผักบุ้งลงลวกในน้ำ คาดเดากันว่าพระรามลงสรงน่าจะมาจากกับข้าวจานหนึ่งของชาวจีนแต๋จิ๋วชื่อว่า 'ซาแต๊ปิ้ง' ซึ่งมีลักษณะคล้ายกันคือมีผักบุ้งลวก หมู ตับ ราดบนข้าวหรือหมี่ขาว กินราดน้ำแกงคล้ายสะเต๊ะ มีน้ำพริกเผาและน้ำส้มพริกดองเสิร์ฟเคียงเพื่อตัดเลี่ยน
Recommended Videos