เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่
Serves
6 คน
Level
4
ขนมจีนหรือเข้าหนมเส้น ชาวล้านนานิยมมารับประทานกับน้ำเงี้ยว เป็นน้ำแกงที่รับประทานกับขนมจีนหรือเส้นก๋วยเตี๋ยว (ถ้าเป็นก๋วยเตี๋ยวเรียกก๋วยเตี๋ยวน้ำเงี้ยว) บางสูตรใช้ถั่วเน่าแข็บหรือถั่วเน่าแผ่นย่างไฟ โขลกลงในเครื่องแกง แทนการใส่เต้าเจี้ยว มีทั้งเลือกไก่ ซี่โครงหมู รสเปรี้ยวอมหวานจากมะเขือส้ม
INGREDIENTS
น้ำมันพืช
3 ช้อนโต๊ะ
น้ำพริกแกงที่โขลก
1/3 ถ้วย
เนื้อหมูติดมันสับ
500 กรัม
มันหมูสับ
50 กรัม
กระดูกหมูส่วนสันหลัง
500 กรัม
น้ำ
6 ถ้วย
ดอกงิ้วแช่น้ำพอนุ่ม
6 ดอก
น้ำเลือดหมู
3 ช้อนโต๊ะ
เลือดไก่หั่นชิ้นสี่เหลี่ยมพอคำ (100 กรัม)
1 ก้อน
มะเขือส้มบุบพอแตก
300 กรัม
เต้าเจี้ยวดำโขลก
2 ช้อนโต๊ะ
เกลือสมุทร
2 ช้อนชา
น้ำตาลทราย
1 ช้อนชา
ขนมจีนสำหรับจัดเสิร์ฟ
ต้นหอมซอย ผักชีซอยและกระเทียมเจียว สำหรับโรย
เครื่องเคียงมี ถั่วงอก ผักกาดดองหั่นเส้น มะนาวหั่นซีก พริกขี้หนูแห้งทอด
พริกแห้งเม็ดใหญ่แกะเมล็ดออกแช่น้ำพอนุ่ม
7 เม็ด
พริกขี้หนูแห้ง
20 เม็ด
เกลือสมุทร
1 ช้อนชา
ตะไคร้ซอย
2 ต้น
รากผักชีหั่นละเอียด
1 ช้อนโต๊ะ
กระเทียมไทยแกะเปลือก
30 กลีบ
หอมแดงปอกเปลือกหั่น
7 หัว
ขมิ้นสดหั่น
½ ช้อนโต๊ะ
ปลาร้าสับ
1 ช้อนชา
ถั่วเน่าแผ่นย่างไฟพอหอม
1 แผ่น
กะปิ
1 ช้อนชา
METHOD
1. ทำน้ำพริกแกงโดยโขลกเครื่องแกงทั้งหมดเข้ำด้วยกันให้ละเอียด ตักใส่ถ้วยเตรียมไว้
2. ตั้งกระทะน้ำมันบนไฟกลาง ใส่น้ำพริกแกงที่โขลกลงผัดจนมีกลิ่นหอม ใส่เนื้อหมู และ
มันหมู ผัดจนสุกทั่ว ปิดไฟ ตักใส่ถ้วย พักไว้
3. ล้างกระดูกหมู ใส่ลงในหม้อ เติมน้ำยกขึ้นตั้งบนไฟกลาง ต้มจนเดือด ระหว่างต้มหมั่นช้อนฟองทิ้งจนน้ำซุปใส ลดเป็นไฟอ่อนเคี่ยวสักครู่ ตักกระดูกหมูขึ้น ใส่เนื้อหมูและมันหมูที่ผัดกับน้ำพริกแกงลงในหม้อ ใส่ดอกงิ้ว และน้ำเลือดหมู พอเดือดอีกครั้ง ลดเป็นไฟอ่อน ใส่เลือดไก่ และมะเขือส้ม เคี่ยวจนมะเขือส้มสุกนำนประมำณ 20 นำที ใส่เต้ำเจี้ยว ปรุงรสด้วยเกลือ และน้ำตาล ชิมรสให้ออกเปรี้ยวเค็ม ปิดไฟ
4. จัดขนมจีนใส่ชำม รำดน้ำเงี้ยว โรยต้นหอม ผักชี และกระเทียมเจียว เสิร์ฟกับเครื่องเคียง
Recommended Articles
ไส้อั่ว นับเป็นความชาญฉลาดของบรรพบุรุษชาวล้านนาอย่างหนึ่งในการใช้สอยทุกส่วนของหมูได้อย่างคุ้มค่า คำว่า “อั่ว” เป็นคำเมือง แปลว่า การแทรกหรือยัดไว้ตรงกลาง เมื่อนำเครื่องต่างๆยัดเข้าไปในไส้หมู จึงเรียกว่า ไส้อั่ว สูตรนี้เป็นสูตรไส้อั่วตับที่ใส่ตับเข้าไปเพิ่มความมันเเละนัว หอมกลิ่นพริกแกงเเละเครื่องสมุนไพรไทย ย่างจนสุกเกรียมหอม จนได้ออกมาเป็นไส้อั่วตับอร่อยๆ จะทำขาย ทำเเจกหรือทำไปฝากเพื่อนก็ได้
จิ้นแดง จิ้นเเห้งหรือจิ้นเกลือ คือ วิธีการถนอมอาหารของคนภาคเหนือ เเต่เดิมใช้เนื้อวัวทำให้ได้เนื้อที่มีสีเเดงเเต่ในปัจจุบันหันมาใช้เนื้อหมูมากขึ้น วิธีการทำคือสไลด์เนื้อสัตว์เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำมาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุงต่างๆ ใส่สีผสมอาหารเพื่อทำให้เนื้อมีสีเเดง จากนั้นนำไปตากแดดให้ได้ที่แล้วนำย่างบนเตาถ่านให้พอสุกเเละเเห้ง สามารถเก็บไว้ได้นาน
อาหารเหนือที่หลายคนคุ้นเคยกับเมนู จอผักกาด แกงผักกาดชนิดหนึ่งของชาวเหนือ บ้างก็เรียกเมนูนี้ว่า ผักกาดจอ หรือจอผักกาดเหนือ ซึ่งคำว่า "จอ" ในภาษาเหนือ หมายถึง ต้มผัก ส่วน "ผักกาด" มาจากคำว่า ผักกาดจ้อน หมายถึง ผักกวางตุ้งที่กำลังออกดอก สูตรนี้นำผักกาดจอมาต้มกับกระดูกหมูจนเข้าเนื้อเเละน้ำซุปกลมกล่อม เติมรสนัวจากถั่วเน่าเเผ่น จ่าวน้ำมันกระเทียมเจียวตอนสุดท้ายเพิ่มความหอมนัวให้มากยิ่งขึ้น เป็นเมนูต้องรับต้นปีใหม่ได้ดีทีเดียว
คนเมืองส่วนใหญ่เรียกกันสั้นๆว่า "เข้าต้ม" ถ้าใส่กล้วยน้ำว่าสุก "เข้าต้มกล้วย ถ้าใส่ถั่วลิส่งเรียก "เข้าต้มถั่วดิน"และถ้าโรยมะพร้าวขูดจะเรียก "เข้าต้มหัวหงอก" หรือที่รู้จักกันทั่วๆไปว่า ข้าวต้มหัวหงอก นั่นเอง นิยมทำทีละเยอะๆ หลายๆอันแล้วต้มพร้อมกันทีเดียวเพราะว่าใช้เวลาในการต้มนาน
น้ำเหมี้ยง เป็นอาหารตำรับล้านนาใช้หัวน้ำเหมี้ยง ซึ่งเป็นน้ำที่ได้จากตอนนึ่งเหมี้ยง (ใบชา) แล้วนำไปเคี่ยวจนข้นงวด คนเหนือใช้หัวน้ำเหมี้ยงในการปรุงอาหาร มีรสอูมามิและความฝาดนิดๆ จึงใช้ปรุงแต่น้อย เมนูน้ำเหมี้ยงนี้เป็นเครื่องจิ้มของคนเหนือ ใส่เนื้อหมูผัดกับเครื่องโขลก ได้แก่กระเทียม หอมแดง และกะปิ ผัดให้หอมแล้วจึงเติมน้ำต้มสุก ใส่หัวน้ำเหมี้ยง และใส่ข้าวคั่วเพื่อให้ความหอมและทำให้เครื่องจิ้มข้น หอมอร่อย กินจิ้มกับข้าวเหนียวนึ่ง แคบหมูและพริกแห้งทอด ลำแต้ๆเจ้า
ไส้อั่ว นับเป็นความชาญฉลาดของบรรพบุรุษชาวล้านนาอย่างหนึ่งในการใช้สอยทุกส่วนของหมูได้อย่างคุ้มค่า คำว่า “อั่ว” เป็นคำเมือง แปลว่า การแทรกหรือยัดไว้ตรงกลาง เมื่อนำเครื่องต่างๆยัดเข้าไปในไส้หมู จึงเรียกว่า ไส้อั่ว สูตรนี้เป็นสูตรไส้อั่วตับที่ใส่ตับเข้าไปเพิ่มความมันเเละนัว หอมกลิ่นพริกแกงเเละเครื่องสมุนไพรไทย ย่างจนสุกเกรียมหอม จนได้ออกมาเป็นไส้อั่วตับอร่อยๆ จะทำขาย ทำเเจกหรือทำไปฝากเพื่อนก็ได้
จิ้นแดง จิ้นเเห้งหรือจิ้นเกลือ คือ วิธีการถนอมอาหารของคนภาคเหนือ เเต่เดิมใช้เนื้อวัวทำให้ได้เนื้อที่มีสีเเดงเเต่ในปัจจุบันหันมาใช้เนื้อหมูมากขึ้น วิธีการทำคือสไลด์เนื้อสัตว์เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำมาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุงต่างๆ ใส่สีผสมอาหารเพื่อทำให้เนื้อมีสีเเดง จากนั้นนำไปตากแดดให้ได้ที่แล้วนำย่างบนเตาถ่านให้พอสุกเเละเเห้ง สามารถเก็บไว้ได้นาน
อาหารเหนือที่หลายคนคุ้นเคยกับเมนู จอผักกาด แกงผักกาดชนิดหนึ่งของชาวเหนือ บ้างก็เรียกเมนูนี้ว่า ผักกาดจอ หรือจอผักกาดเหนือ ซึ่งคำว่า "จอ" ในภาษาเหนือ หมายถึง ต้มผัก ส่วน "ผักกาด" มาจากคำว่า ผักกาดจ้อน หมายถึง ผักกวางตุ้งที่กำลังออกดอก สูตรนี้นำผักกาดจอมาต้มกับกระดูกหมูจนเข้าเนื้อเเละน้ำซุปกลมกล่อม เติมรสนัวจากถั่วเน่าเเผ่น จ่าวน้ำมันกระเทียมเจียวตอนสุดท้ายเพิ่มความหอมนัวให้มากยิ่งขึ้น เป็นเมนูต้องรับต้นปีใหม่ได้ดีทีเดียว
คนเมืองส่วนใหญ่เรียกกันสั้นๆว่า "เข้าต้ม" ถ้าใส่กล้วยน้ำว่าสุก "เข้าต้มกล้วย ถ้าใส่ถั่วลิส่งเรียก "เข้าต้มถั่วดิน"และถ้าโรยมะพร้าวขูดจะเรียก "เข้าต้มหัวหงอก" หรือที่รู้จักกันทั่วๆไปว่า ข้าวต้มหัวหงอก นั่นเอง นิยมทำทีละเยอะๆ หลายๆอันแล้วต้มพร้อมกันทีเดียวเพราะว่าใช้เวลาในการต้มนาน
น้ำเหมี้ยง เป็นอาหารตำรับล้านนาใช้หัวน้ำเหมี้ยง ซึ่งเป็นน้ำที่ได้จากตอนนึ่งเหมี้ยง (ใบชา) แล้วนำไปเคี่ยวจนข้นงวด คนเหนือใช้หัวน้ำเหมี้ยงในการปรุงอาหาร มีรสอูมามิและความฝาดนิดๆ จึงใช้ปรุงแต่น้อย เมนูน้ำเหมี้ยงนี้เป็นเครื่องจิ้มของคนเหนือ ใส่เนื้อหมูผัดกับเครื่องโขลก ได้แก่กระเทียม หอมแดง และกะปิ ผัดให้หอมแล้วจึงเติมน้ำต้มสุก ใส่หัวน้ำเหมี้ยง และใส่ข้าวคั่วเพื่อให้ความหอมและทำให้เครื่องจิ้มข้น หอมอร่อย กินจิ้มกับข้าวเหนียวนึ่ง แคบหมูและพริกแห้งทอด ลำแต้ๆเจ้า
ไส้อั่ว นับเป็นความชาญฉลาดของบรรพบุรุษชาวล้านนาอย่างหนึ่งในการใช้สอยทุกส่วนของหมูได้อย่างคุ้มค่า คำว่า “อั่ว” เป็นคำเมือง แปลว่า การแทรกหรือยัดไว้ตรงกลาง เมื่อนำเครื่องต่างๆยัดเข้าไปในไส้หมู จึงเรียกว่า ไส้อั่ว สูตรนี้เป็นสูตรไส้อั่วตับที่ใส่ตับเข้าไปเพิ่มความมันเเละนัว หอมกลิ่นพริกแกงเเละเครื่องสมุนไพรไทย ย่างจนสุกเกรียมหอม จนได้ออกมาเป็นไส้อั่วตับอร่อยๆ จะทำขาย ทำเเจกหรือทำไปฝากเพื่อนก็ได้
จิ้นแดง จิ้นเเห้งหรือจิ้นเกลือ คือ วิธีการถนอมอาหารของคนภาคเหนือ เเต่เดิมใช้เนื้อวัวทำให้ได้เนื้อที่มีสีเเดงเเต่ในปัจจุบันหันมาใช้เนื้อหมูมากขึ้น วิธีการทำคือสไลด์เนื้อสัตว์เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำมาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุงต่างๆ ใส่สีผสมอาหารเพื่อทำให้เนื้อมีสีเเดง จากนั้นนำไปตากแดดให้ได้ที่แล้วนำย่างบนเตาถ่านให้พอสุกเเละเเห้ง สามารถเก็บไว้ได้นาน
อาหารเหนือที่หลายคนคุ้นเคยกับเมนู จอผักกาด แกงผักกาดชนิดหนึ่งของชาวเหนือ บ้างก็เรียกเมนูนี้ว่า ผักกาดจอ หรือจอผักกาดเหนือ ซึ่งคำว่า "จอ" ในภาษาเหนือ หมายถึง ต้มผัก ส่วน "ผักกาด" มาจากคำว่า ผักกาดจ้อน หมายถึง ผักกวางตุ้งที่กำลังออกดอก สูตรนี้นำผักกาดจอมาต้มกับกระดูกหมูจนเข้าเนื้อเเละน้ำซุปกลมกล่อม เติมรสนัวจากถั่วเน่าเเผ่น จ่าวน้ำมันกระเทียมเจียวตอนสุดท้ายเพิ่มความหอมนัวให้มากยิ่งขึ้น เป็นเมนูต้องรับต้นปีใหม่ได้ดีทีเดียว
คนเมืองส่วนใหญ่เรียกกันสั้นๆว่า "เข้าต้ม" ถ้าใส่กล้วยน้ำว่าสุก "เข้าต้มกล้วย ถ้าใส่ถั่วลิส่งเรียก "เข้าต้มถั่วดิน"และถ้าโรยมะพร้าวขูดจะเรียก "เข้าต้มหัวหงอก" หรือที่รู้จักกันทั่วๆไปว่า ข้าวต้มหัวหงอก นั่นเอง นิยมทำทีละเยอะๆ หลายๆอันแล้วต้มพร้อมกันทีเดียวเพราะว่าใช้เวลาในการต้มนาน
น้ำเหมี้ยง เป็นอาหารตำรับล้านนาใช้หัวน้ำเหมี้ยง ซึ่งเป็นน้ำที่ได้จากตอนนึ่งเหมี้ยง (ใบชา) แล้วนำไปเคี่ยวจนข้นงวด คนเหนือใช้หัวน้ำเหมี้ยงในการปรุงอาหาร มีรสอูมามิและความฝาดนิดๆ จึงใช้ปรุงแต่น้อย เมนูน้ำเหมี้ยงนี้เป็นเครื่องจิ้มของคนเหนือ ใส่เนื้อหมูผัดกับเครื่องโขลก ได้แก่กระเทียม หอมแดง และกะปิ ผัดให้หอมแล้วจึงเติมน้ำต้มสุก ใส่หัวน้ำเหมี้ยง และใส่ข้าวคั่วเพื่อให้ความหอมและทำให้เครื่องจิ้มข้น หอมอร่อย กินจิ้มกับข้าวเหนียวนึ่ง แคบหมูและพริกแห้งทอด ลำแต้ๆเจ้า
Recommended Videos