เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่

Serves
4 คน
Level
4
พอเริ่มทำเรื่องก็จะใหญ่ขึ้นมาเลยทีเดียว เพราะด้วยเครื่องยำกว่าสิบยี่สิบอย่างรวมกัน ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหมู เครื่องในหมูเกือบทุกส่วน ไหนจะไก่ กุ้ง ปลาหมึกแห้ง วุ้นเส้น เต้าหู้ ฟองเต้าหู ฯลฯ น้ำยำสีแดงฉานแต่ไม่เผ็ดเพราะทำจากพริกชี้ฟ้า กระเทียม รากผักชีโขลกรวมกัน ปรุงรสด้วยน้ำปลา น้ำตาล มะนาว ในสัดส่วนที่เท่าๆกันเพราะสมัยก่อนน้ำยำจะมีรสค่อนข้างเสมอกัน เอกลักษณ์ของยำใหญ่ที่หาไม่ค่อยเจอในสมัยนี้คือการใส่หัวไชเท้าฝานบางๆลงไปด้วย หัวไชเท้า (หรือในตำรามักเขียนว่าหัวผักกาด) กรอบหวานรสไม่ขื่น มีเคล็ดลับตรงฝานหัวไชเท้าบางๆแล้วขยำกับเกลือเบาๆเพื่อลดความขื่น ล้างน้ำทิ้ง 2-3 น้ำแล้วลองชิมดู
INGREDIENTS
หัวไช้เท้าหั่นแว่นบาง
1 ถ้วย
เกลือสมุทร
½ ช้อนชา
หนังหมูต้มหั่นชิ้นบางเล็ก
2 ช้อนโต๊ะ
เนื้อหมูสันนอกต้มหั่นชิ้นยาวเล็ก
2 ช้อนโต๊ะ
มันหมูแข็งต้มหั่นชิ้นยาวเล็ก
2 ช้อนโต๊ะ
กระเพาะหมูต้มหั่นชิ้นบางเล็ก
2 ช้อนโต๊ะ
หัวใจหมูต้มหั่นชิ้นบางเล็ก
2 ช้อนโต๊ะ
ตับหมูต้มหั่นชิ้นบางเล็ก
2 ช้อนโต๊ะ
กุ้งปอกเปลือกต้มหั่นชิ้นเล็ก
2 ช้อนโต๊ะ
อกไก่ต้มฉีกฝอย
2 ช้อนโต๊ะ
ปลาหมึกแห้งปิ้งสุกฉีกฝอย
2 ช้อนโต๊ะ
แตงกวาหั่นแฉลบ
2 ลูก
กระเทียมดองหั่นฝอย
1 หัว
กุ้งแห้งตัวใหญ่ผ่าซีก
2 ช้อนโต๊ะ
เห็ดหูหนูแช่น้ำให้นิ่ม
¼ ถ้วย
ถั่วงอกเด็ดหางลวก
¼ ถ้วย
ฟองเต้าหู้แช่น้ำตัดเป็นท่อนสั้น
¼ ถ้วย
วุ้นเส้นลวกน้ำร้อนตัดเป็นท่อนสั้น
¼ ถ้วย
เต้าหู้เหลืองหั่นเต๋า ลวก
½ ถ้วย
สะระแหน่เด็ดใบ
½ ถ้วย
ขึ้นฉ่ายหั่นท่อน
1 ต้น
ไข่ไก่ต้มผ่าครึ่ง
2 ฟอง
ใบผักชีสำหรับตกแต่ง
พริกชี้ฟ้าสีแดงหั่นท่อน
3 เม็ด
พริกไทยขาวเม็ด
5 เม็ด
กระเทียมกลีบเล็ก
4 กลีบ
รากผักชีหั่นฝอย
2 ราก
น้ำปลา
3 ช้อนโต๊ะ
น้ำตาลทราย
3 ช้อนโต๊ะ
น้ำมะนาว
3 ช้อนโต๊ะ
METHOD
1. ทำน้ำยำโดยโขลกพริกขี้ฟ้า พริกไทย กระเทียม และรากผักชีให้ละเอียด ผสมน้ำปลา น้ำตาล น้ำมะนาว คนให้เข้ากัน ชิมรสให้เค็มนำ
2. ล้างหัวไชเท้า ปอกเปลือก ฝานด้วยมีดบางๆ เคล้ากับเกลือให้ทั่ว แล้วล้างน้ำออก 2-3 รอบ เพื่อลดความขื่น
3. เอาหนังหมู เนื้อหมู มันหมู กระเพาะ หัวใจ ตับ กุ้ง ไก่ ปลาหมึก แตงกวา หัวไชเท้า กระเทียมดอง กุ้งแห้ง เห็ดหูหนู ถั่วงอกลวก ฟองเต้าหู้ วุ้นเส้น เต้าหู้เหลือง ใบสะระแหน่ ขึ้นฉ่าย ใส่ลงในอ่างผสม ใส่น้ำยำลงไป คลุกเคล้าเบาๆให้เครื่องทั้งหมดเข้ากับน้ำยำ ระวังอย่าให้ผักช้ำ
4. จัดใส่จาน เสิร์ฟคู่กับไข่ต้มผ่าครึ่ง ตกแต่งด้วยผักชี
อ่านบทความเพ่ิมเติม
Tags:
น้ำยำ, ยำสมัยก่อน, ยำโบราณ, อาหารในวัง, อาหารไทยโบราณ, เครื่องในหมู, เนื้อหมู, เมนูยำ, ไทยโบราณ
Recommended Articles

เมนูสำหรับสายปาร์ตี้ต้องยกให้เจ้าพอร์คชอป โดยเฉพาะสูตรนี้เลือกใช้พอร์ชอปทั้งแผงมาตกแต่งทรงให้สวยงาม หมักด้วยเครื่องหมักอย่างกระเทียม พริกไทย เกลือ และน้ำมันมะกอกให้เครื่องหมักซึมเข้าเนื้อหมูจนทั่ว จากนั้นค่อยนำไปอบให้สุก จากนั้นค่อยนำส่วนหนังมาทอดในกระทะให้หนังกรอบ เสิร์ฟมาพร้อมกับมายองเนสกระเทียมที่รับประกันความอร่อย

หนึ่งในขนมไทยที่เก่าแก่ที่สุดก็เป็นได้ เพราะเป็นอาหารสมัยพุทธกาล มีระบุไว้ในพระวินัยปิฏกถึงประโยชน์ 5 ประการของข้าวยาคู ได้แก่ ช่วยบรรเทาความหิว ความกระหาย ทำให้ลมเดินสะดวก ช่วยชำระล้างลำไส้ และช่วยย่อยอาหาร สมัยก่อนข้าวยาคูทำโดยนำรวงข้าวอ่อนที่ยังเป็นน้ำนมอยู่ มาตำให้เมล็ดแหลก นำไปคั้นเอาแต่น้ำ จะได้น้ำนมข้าวสีเขียว นำมากวนกับน้ำตาลให้พอข้น กินหยอดหน้ากับกะทิหรือมะพร้าวอ่อนก็ได้ ดังนั้นหากจะรับประทานข้าวยาคูนอกฤดูที่รวงข้าวตั้งท้อง จึงมีการใช้ใบต้นข้าวอ่อนหรือแม้กระทั่งใบเตยมาทดแทนกลิ่นและสีเขียวของเมล็ดข้าวอ่อนได้ เพิ่มความใกล้เคียงโดยการใช้ข้าวหอมมะลิมาแช่น้ำแล้วโม่หรือปั่นเป็นแป้งข้าวเจ้าสดเองก็ช่วยรักษารสชาติและแบบฉบับการทำข้าวยาคูแบบดั้งเดิมไว้ได้เช่นเดียวกัน สูตรนี้ใช้ใบข้าวอ่อน ที่หาซื้อจากศูนย์การเรียนรู้ภูกะเหรี่ยง จังหวัดนครนายก หากใครจะใช้ใบเตยแทนก็ได้เช่นกัน

“ยำส้มกะปิทรงเครื่อง” เป็นการนำเอากะปิมาละลายกับกะทิจากนั้นนำไปคั่วให้หอมในกระทะ แล้วปรุงรสด้วยน้ำตาล น้ำปลา น้ำมะนาว และน้ำพริกเผา รสชาติที่ได้ก็หอมๆนวลกะปิ จากนั้นก็นำมาเคล้ากับส้มที่เตรียมไว้ แล้วเพิ่มความพิเศษของยำเข้าไปอีกด้วยการใส้เครื่องอย่างกระเทียมซอย หอมแดงซอย พริกจินดาแดงซอย มะพร้าวคั่ว เคล้าๆให้เข้ากัน จากนั้นก็ตักใส่จานเสิร์ฟพร้อมกับเนื้อปลากะพงแดงที่นำไปเคล้ากับเกลือ พริกไทยเล็กน้อย แล้วนำไปทอดให้หนังกรอบ เนื้อด้านในสุกกำลังดี ตกแต่งด้วยใบผักชี

‘แสร้งว่า’ จัดเป็นน้ำพริกเครื่องจิ้มผักดิบ มีเนื้อขลุกขลิก รสจัดจ้าน สันนิษฐานว่าดัดแปลงมาจาก ‘ยำไตปลา’ ของชาวปักษ์ใต้ ที่ประกอบด้วยไตปลา (ไตปลาเป็นภูมิปัญญาการถนอมอาหารของคนใต้ โดยใช้พุงปลาทะเลหมักกับเกลือ เช่น ไตปลาทู ปลากระบอก ปลากะพง ที่นิยมและจัดว่าเป็นไตปลาดี รสอร่อย คือไตปลาทู เป็นเครื่องปรุงรสในอาหารใต้และเป็นวัตถุดิบหลักเช่นยำไตปลา) ดับกลิ่นคาวไตปลาด้วยเครื่องสมุนไพรอย่างขิง ตะไคร้ กระเทียม หอมแดง ใบมะกรูด ปรุงรสเปรี้ยวด้วยน้ำมะกรูด น้ำมะนาว และน้ำตาล แต่ด้วยชาววังที่ไม่คุ้นเคยกับกลิ่นรสในตำรับท้องถิ่นใต้จานนี้ จึงมีการดัดแปลงวัตถุดิบหลักอย่างไตปลา เปลี่ยนมาใช้ปลาสลาดย่างและเยื่อเคยดี เช่น ตำรับที่บันทึกไว้ในแม่ครัวหัวป่าก์ หรือใช้กุ้งเผากับมันกุ้งเขละๆ ในตำรับสายเยาวภา ทุกตำรับยังคงเครื่องสมุนไพรดับคาวต่างๆ ไว้เช่นเดียวกับไตปลา แม้กระทั่งการปรุงรสเปรี้ยวจากน้ำมะนาว และน้ำมะกรูดซึ่งครัวใต้ใช้ดับกลิ่นคาวไตปลา หากในตำรับแสร้งว่าใส่เพื่อดับกลิ่นคาวกุ้งย่างและมันกุ้ง ผิดกันเพียงน้ำมะขามเปียกที่ใส่ในทุกตำรับแสร้งว่า ทว่ายำไตปลาจะไม่ใส่

น้ำพริกตำรับชาววังที่กลมกล่อมครบ 3 รสคือเปรี้ยว เค็ม หวาน ส่วนประกอบสำคัญของน้ำพริกลงเรือที่ขาดไม่ได้คือ น้ำพริกกะปิ หมูหวาน ปลาดุกฟูและกระเทียมดอง โดยจะผัดน้ำพริกกะปิกับหมูหวานให้เข้ากัน แล้วจึงใส่กระเทียมดองซอยลงไปให้รสหวานปะเเล่มเเละมีเนื้อกระเทียมกรอบๆเวลารับประทาน ตักใส่ถ้วย โรยหน้าด้วยปลาดุกฟู ไข่แดงเค็มปั้น และกระเทียมดองที่เหลือ

เมนูสำหรับสายปาร์ตี้ต้องยกให้เจ้าพอร์คชอป โดยเฉพาะสูตรนี้เลือกใช้พอร์ชอปทั้งแผงมาตกแต่งทรงให้สวยงาม หมักด้วยเครื่องหมักอย่างกระเทียม พริกไทย เกลือ และน้ำมันมะกอกให้เครื่องหมักซึมเข้าเนื้อหมูจนทั่ว จากนั้นค่อยนำไปอบให้สุก จากนั้นค่อยนำส่วนหนังมาทอดในกระทะให้หนังกรอบ เสิร์ฟมาพร้อมกับมายองเนสกระเทียมที่รับประกันความอร่อย

หนึ่งในขนมไทยที่เก่าแก่ที่สุดก็เป็นได้ เพราะเป็นอาหารสมัยพุทธกาล มีระบุไว้ในพระวินัยปิฏกถึงประโยชน์ 5 ประการของข้าวยาคู ได้แก่ ช่วยบรรเทาความหิว ความกระหาย ทำให้ลมเดินสะดวก ช่วยชำระล้างลำไส้ และช่วยย่อยอาหาร สมัยก่อนข้าวยาคูทำโดยนำรวงข้าวอ่อนที่ยังเป็นน้ำนมอยู่ มาตำให้เมล็ดแหลก นำไปคั้นเอาแต่น้ำ จะได้น้ำนมข้าวสีเขียว นำมากวนกับน้ำตาลให้พอข้น กินหยอดหน้ากับกะทิหรือมะพร้าวอ่อนก็ได้ ดังนั้นหากจะรับประทานข้าวยาคูนอกฤดูที่รวงข้าวตั้งท้อง จึงมีการใช้ใบต้นข้าวอ่อนหรือแม้กระทั่งใบเตยมาทดแทนกลิ่นและสีเขียวของเมล็ดข้าวอ่อนได้ เพิ่มความใกล้เคียงโดยการใช้ข้าวหอมมะลิมาแช่น้ำแล้วโม่หรือปั่นเป็นแป้งข้าวเจ้าสดเองก็ช่วยรักษารสชาติและแบบฉบับการทำข้าวยาคูแบบดั้งเดิมไว้ได้เช่นเดียวกัน สูตรนี้ใช้ใบข้าวอ่อน ที่หาซื้อจากศูนย์การเรียนรู้ภูกะเหรี่ยง จังหวัดนครนายก หากใครจะใช้ใบเตยแทนก็ได้เช่นกัน

“ยำส้มกะปิทรงเครื่อง” เป็นการนำเอากะปิมาละลายกับกะทิจากนั้นนำไปคั่วให้หอมในกระทะ แล้วปรุงรสด้วยน้ำตาล น้ำปลา น้ำมะนาว และน้ำพริกเผา รสชาติที่ได้ก็หอมๆนวลกะปิ จากนั้นก็นำมาเคล้ากับส้มที่เตรียมไว้ แล้วเพิ่มความพิเศษของยำเข้าไปอีกด้วยการใส้เครื่องอย่างกระเทียมซอย หอมแดงซอย พริกจินดาแดงซอย มะพร้าวคั่ว เคล้าๆให้เข้ากัน จากนั้นก็ตักใส่จานเสิร์ฟพร้อมกับเนื้อปลากะพงแดงที่นำไปเคล้ากับเกลือ พริกไทยเล็กน้อย แล้วนำไปทอดให้หนังกรอบ เนื้อด้านในสุกกำลังดี ตกแต่งด้วยใบผักชี

‘แสร้งว่า’ จัดเป็นน้ำพริกเครื่องจิ้มผักดิบ มีเนื้อขลุกขลิก รสจัดจ้าน สันนิษฐานว่าดัดแปลงมาจาก ‘ยำไตปลา’ ของชาวปักษ์ใต้ ที่ประกอบด้วยไตปลา (ไตปลาเป็นภูมิปัญญาการถนอมอาหารของคนใต้ โดยใช้พุงปลาทะเลหมักกับเกลือ เช่น ไตปลาทู ปลากระบอก ปลากะพง ที่นิยมและจัดว่าเป็นไตปลาดี รสอร่อย คือไตปลาทู เป็นเครื่องปรุงรสในอาหารใต้และเป็นวัตถุดิบหลักเช่นยำไตปลา) ดับกลิ่นคาวไตปลาด้วยเครื่องสมุนไพรอย่างขิง ตะไคร้ กระเทียม หอมแดง ใบมะกรูด ปรุงรสเปรี้ยวด้วยน้ำมะกรูด น้ำมะนาว และน้ำตาล แต่ด้วยชาววังที่ไม่คุ้นเคยกับกลิ่นรสในตำรับท้องถิ่นใต้จานนี้ จึงมีการดัดแปลงวัตถุดิบหลักอย่างไตปลา เปลี่ยนมาใช้ปลาสลาดย่างและเยื่อเคยดี เช่น ตำรับที่บันทึกไว้ในแม่ครัวหัวป่าก์ หรือใช้กุ้งเผากับมันกุ้งเขละๆ ในตำรับสายเยาวภา ทุกตำรับยังคงเครื่องสมุนไพรดับคาวต่างๆ ไว้เช่นเดียวกับไตปลา แม้กระทั่งการปรุงรสเปรี้ยวจากน้ำมะนาว และน้ำมะกรูดซึ่งครัวใต้ใช้ดับกลิ่นคาวไตปลา หากในตำรับแสร้งว่าใส่เพื่อดับกลิ่นคาวกุ้งย่างและมันกุ้ง ผิดกันเพียงน้ำมะขามเปียกที่ใส่ในทุกตำรับแสร้งว่า ทว่ายำไตปลาจะไม่ใส่

น้ำพริกตำรับชาววังที่กลมกล่อมครบ 3 รสคือเปรี้ยว เค็ม หวาน ส่วนประกอบสำคัญของน้ำพริกลงเรือที่ขาดไม่ได้คือ น้ำพริกกะปิ หมูหวาน ปลาดุกฟูและกระเทียมดอง โดยจะผัดน้ำพริกกะปิกับหมูหวานให้เข้ากัน แล้วจึงใส่กระเทียมดองซอยลงไปให้รสหวานปะเเล่มเเละมีเนื้อกระเทียมกรอบๆเวลารับประทาน ตักใส่ถ้วย โรยหน้าด้วยปลาดุกฟู ไข่แดงเค็มปั้น และกระเทียมดองที่เหลือ

เมนูสำหรับสายปาร์ตี้ต้องยกให้เจ้าพอร์คชอป โดยเฉพาะสูตรนี้เลือกใช้พอร์ชอปทั้งแผงมาตกแต่งทรงให้สวยงาม หมักด้วยเครื่องหมักอย่างกระเทียม พริกไทย เกลือ และน้ำมันมะกอกให้เครื่องหมักซึมเข้าเนื้อหมูจนทั่ว จากนั้นค่อยนำไปอบให้สุก จากนั้นค่อยนำส่วนหนังมาทอดในกระทะให้หนังกรอบ เสิร์ฟมาพร้อมกับมายองเนสกระเทียมที่รับประกันความอร่อย

หนึ่งในขนมไทยที่เก่าแก่ที่สุดก็เป็นได้ เพราะเป็นอาหารสมัยพุทธกาล มีระบุไว้ในพระวินัยปิฏกถึงประโยชน์ 5 ประการของข้าวยาคู ได้แก่ ช่วยบรรเทาความหิว ความกระหาย ทำให้ลมเดินสะดวก ช่วยชำระล้างลำไส้ และช่วยย่อยอาหาร สมัยก่อนข้าวยาคูทำโดยนำรวงข้าวอ่อนที่ยังเป็นน้ำนมอยู่ มาตำให้เมล็ดแหลก นำไปคั้นเอาแต่น้ำ จะได้น้ำนมข้าวสีเขียว นำมากวนกับน้ำตาลให้พอข้น กินหยอดหน้ากับกะทิหรือมะพร้าวอ่อนก็ได้ ดังนั้นหากจะรับประทานข้าวยาคูนอกฤดูที่รวงข้าวตั้งท้อง จึงมีการใช้ใบต้นข้าวอ่อนหรือแม้กระทั่งใบเตยมาทดแทนกลิ่นและสีเขียวของเมล็ดข้าวอ่อนได้ เพิ่มความใกล้เคียงโดยการใช้ข้าวหอมมะลิมาแช่น้ำแล้วโม่หรือปั่นเป็นแป้งข้าวเจ้าสดเองก็ช่วยรักษารสชาติและแบบฉบับการทำข้าวยาคูแบบดั้งเดิมไว้ได้เช่นเดียวกัน สูตรนี้ใช้ใบข้าวอ่อน ที่หาซื้อจากศูนย์การเรียนรู้ภูกะเหรี่ยง จังหวัดนครนายก หากใครจะใช้ใบเตยแทนก็ได้เช่นกัน

“ยำส้มกะปิทรงเครื่อง” เป็นการนำเอากะปิมาละลายกับกะทิจากนั้นนำไปคั่วให้หอมในกระทะ แล้วปรุงรสด้วยน้ำตาล น้ำปลา น้ำมะนาว และน้ำพริกเผา รสชาติที่ได้ก็หอมๆนวลกะปิ จากนั้นก็นำมาเคล้ากับส้มที่เตรียมไว้ แล้วเพิ่มความพิเศษของยำเข้าไปอีกด้วยการใส้เครื่องอย่างกระเทียมซอย หอมแดงซอย พริกจินดาแดงซอย มะพร้าวคั่ว เคล้าๆให้เข้ากัน จากนั้นก็ตักใส่จานเสิร์ฟพร้อมกับเนื้อปลากะพงแดงที่นำไปเคล้ากับเกลือ พริกไทยเล็กน้อย แล้วนำไปทอดให้หนังกรอบ เนื้อด้านในสุกกำลังดี ตกแต่งด้วยใบผักชี

‘แสร้งว่า’ จัดเป็นน้ำพริกเครื่องจิ้มผักดิบ มีเนื้อขลุกขลิก รสจัดจ้าน สันนิษฐานว่าดัดแปลงมาจาก ‘ยำไตปลา’ ของชาวปักษ์ใต้ ที่ประกอบด้วยไตปลา (ไตปลาเป็นภูมิปัญญาการถนอมอาหารของคนใต้ โดยใช้พุงปลาทะเลหมักกับเกลือ เช่น ไตปลาทู ปลากระบอก ปลากะพง ที่นิยมและจัดว่าเป็นไตปลาดี รสอร่อย คือไตปลาทู เป็นเครื่องปรุงรสในอาหารใต้และเป็นวัตถุดิบหลักเช่นยำไตปลา) ดับกลิ่นคาวไตปลาด้วยเครื่องสมุนไพรอย่างขิง ตะไคร้ กระเทียม หอมแดง ใบมะกรูด ปรุงรสเปรี้ยวด้วยน้ำมะกรูด น้ำมะนาว และน้ำตาล แต่ด้วยชาววังที่ไม่คุ้นเคยกับกลิ่นรสในตำรับท้องถิ่นใต้จานนี้ จึงมีการดัดแปลงวัตถุดิบหลักอย่างไตปลา เปลี่ยนมาใช้ปลาสลาดย่างและเยื่อเคยดี เช่น ตำรับที่บันทึกไว้ในแม่ครัวหัวป่าก์ หรือใช้กุ้งเผากับมันกุ้งเขละๆ ในตำรับสายเยาวภา ทุกตำรับยังคงเครื่องสมุนไพรดับคาวต่างๆ ไว้เช่นเดียวกับไตปลา แม้กระทั่งการปรุงรสเปรี้ยวจากน้ำมะนาว และน้ำมะกรูดซึ่งครัวใต้ใช้ดับกลิ่นคาวไตปลา หากในตำรับแสร้งว่าใส่เพื่อดับกลิ่นคาวกุ้งย่างและมันกุ้ง ผิดกันเพียงน้ำมะขามเปียกที่ใส่ในทุกตำรับแสร้งว่า ทว่ายำไตปลาจะไม่ใส่

น้ำพริกตำรับชาววังที่กลมกล่อมครบ 3 รสคือเปรี้ยว เค็ม หวาน ส่วนประกอบสำคัญของน้ำพริกลงเรือที่ขาดไม่ได้คือ น้ำพริกกะปิ หมูหวาน ปลาดุกฟูและกระเทียมดอง โดยจะผัดน้ำพริกกะปิกับหมูหวานให้เข้ากัน แล้วจึงใส่กระเทียมดองซอยลงไปให้รสหวานปะเเล่มเเละมีเนื้อกระเทียมกรอบๆเวลารับประทาน ตักใส่ถ้วย โรยหน้าด้วยปลาดุกฟู ไข่แดงเค็มปั้น และกระเทียมดองที่เหลือ
Recommended Videos