เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่

Serves
4 คน
Level
3
เป็นยำพื้นเมืองที่นำผักลวกหลากหลายชนิดมายำหรือตามความหมายคือคลุกให้เข้ากัน สังเกตว่าไม่มีส่วนผสมของความเปรี้ยวอย่างน้ำมะนาวหรือน้ำมะขามเลย ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของยำทางเหนือที่ยำจะออกไปทางคั่วเสียมากกว่า คือนำเครื่องยำไปผัดกับน้ำมันหอมหรือกระเทียมในกระทะ
INGREDIENTS
น้ำ
¼ ถ้วย
น้ำปลาร้า
1 ช้อนโต๊ะ
หมูบด
100 กรัม
ผักบุ้งไทยหั่นท่อนลวก
1 ถ้วย
หัวปลีซอยบางต้มสุก
1 ถ้วย
ถั่วฝักยาวหั่นท่อนต้มสุก
½ ถ้วย
ถั่วงอกเด็ดหางลวกสุก
1 ถ้วย
มะระผ่าครึ่งหั่นบางต้มสุก
2 ลูก
มะเขือพวงเด็ดขั้วต้มสุก
½ ถ้วย
น้ำมันพืช
¼ ถ้วย
กระเทียมกลีบเล็กสับละเอียด
1½ ช้อนโต๊ะ
งาขาวคั่ว
1 ช้อนโต๊ะ
ต้นหอมซอย
2 ช้อนโต๊ะ
พริกขี้หนูแห้งทอดและแคบหมูสำหรับกินเคียง
พริกชี้ฟ้าสีเขียวแดงอย่างละเม็ด
2 เม็ด
หอมแดงแกะเปลือก
¼ ถ้วย
กระเทียมไทยแกะเปลือก
3 ช้อนโต๊ะ
เกลือสมุทร
1 ช้อนชา
กะปิ
½ ช้อนโต๊ะ
METHOD
1. ทำน้ำพริกยำโดยตั้งกระทะบนไฟอ่อน นำพริกชี้ฟ้า หอมแดง กระเทียมลงคั่วจนแห้งดี สังเกตที่ผิวเครื่องสมุนไพรมีรอยไหม้เล็กน้อย ปิดไฟ ตักเครื่องที่คั่วใส่ครก ตามด้วยเกลือและกะปิ โขลกเครื่องทั้งหมดให้เข้ากันโดยละเอียด พักไว้ในครกก่อน
2. ใส่น้ำลงในหม้อ นำขึ้นตั้งบนไฟกลางจนเดือด ใส่น้ำปลาร้า เคี่ยวสักครู่ให้ละลายและมีกลิ่นหอม ใส่หมูสับ รวนจนหมูสุก ปิดไฟ ตักเนื้อหมูลงในครกน้ำพริกยำ โขลกเบาๆให้เข้ากัน ตักเครื่องที่โขลกออกใส่ชามผสม ใส่ผักทั้งหมดลงในชาม เคล้าให้ทุกอย่างเข้ากันดี คนให้ทั่ว
3. ตั้งกระทะน้ำมันบนไฟกลาง ใส่กระเทียมเจียวให้หอม ใส่ผักที่ผสมไว้ ผัดให้ทั่ว ชิมรส
4. ตักใส่จานโรยด้วยงาขาวคั่ว กินกับแคบหมู และพริกขี้หนูทอดเพิ่มความเผ็ด
อ่านบทความเพ่ิมเติม
Recommended Articles

ไส้อั่ว นับเป็นความชาญฉลาดของบรรพบุรุษชาวล้านนาอย่างหนึ่งในการใช้สอยทุกส่วนของหมูได้อย่างคุ้มค่า คำว่า “อั่ว” เป็นคำเมือง แปลว่า การแทรกหรือยัดไว้ตรงกลาง เมื่อนำเครื่องต่างๆยัดเข้าไปในไส้หมู จึงเรียกว่า ไส้อั่ว สูตรนี้เป็นสูตรไส้อั่วตับที่ใส่ตับเข้าไปเพิ่มความมันเเละนัว หอมกลิ่นพริกแกงเเละเครื่องสมุนไพรไทย ย่างจนสุกเกรียมหอม จนได้ออกมาเป็นไส้อั่วตับอร่อยๆ จะทำขาย ทำเเจกหรือทำไปฝากเพื่อนก็ได้

อาหารว่างโบราณที่นับว่าหากินอยากอีกชนิดหนึ่งคือกระทงทอง นับวันจะยิ่งไม่ค่อยนิยมทำตามร้านอาหารเพราะต้องละเมียดในการทอดกระทงทีละชิ้น ทีละคำเพื่อใส่ไส้ อีกทั้งจะทอดทิ้งไว้ก็กลัวจะไม่อร่อย กระทงทองจึงเป็นอาหารที่นิยมทำกินเองที่บ้านหรือแจกจ่ายให้เพื่อนสนิทมิตรสหายรักเสียมากกว่า เมื่อได้แป้งกระทงทองที่กรอบบาง ไม่อมน้ำมันแล้ว ไส้กระทงทองก็สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามใจชอบ เช่น ไส้ยำส้มโอ ไส้เมี่ยงลาว ไส้ปู ไส้ซอสขาว

จิ้นแดง จิ้นเเห้งหรือจิ้นเกลือ คือ วิธีการถนอมอาหารของคนภาคเหนือ เเต่เดิมใช้เนื้อวัวทำให้ได้เนื้อที่มีสีเเดงเเต่ในปัจจุบันหันมาใช้เนื้อหมูมากขึ้น วิธีการทำคือสไลด์เนื้อสัตว์เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำมาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุงต่างๆ ใส่สีผสมอาหารเพื่อทำให้เนื้อมีสีเเดง จากนั้นนำไปตากแดดให้ได้ที่แล้วนำย่างบนเตาถ่านให้พอสุกเเละเเห้ง สามารถเก็บไว้ได้นาน

อาหารเหนือที่หลายคนคุ้นเคยกับเมนู จอผักกาด แกงผักกาดชนิดหนึ่งของชาวเหนือ บ้างก็เรียกเมนูนี้ว่า ผักกาดจอ หรือจอผักกาดเหนือ ซึ่งคำว่า "จอ" ในภาษาเหนือ หมายถึง ต้มผัก ส่วน "ผักกาด" มาจากคำว่า ผักกาดจ้อน หมายถึง ผักกวางตุ้งที่กำลังออกดอก สูตรนี้นำผักกาดจอมาต้มกับกระดูกหมูจนเข้าเนื้อเเละน้ำซุปกลมกล่อม เติมรสนัวจากถั่วเน่าเเผ่น จ่าวน้ำมันกระเทียมเจียวตอนสุดท้ายเพิ่มความหอมนัวให้มากยิ่งขึ้น เป็นเมนูต้องรับต้นปีใหม่ได้ดีทีเดียว

คนเมืองส่วนใหญ่เรียกกันสั้นๆว่า "เข้าต้ม" ถ้าใส่กล้วยน้ำว่าสุก "เข้าต้มกล้วย ถ้าใส่ถั่วลิส่งเรียก "เข้าต้มถั่วดิน"และถ้าโรยมะพร้าวขูดจะเรียก "เข้าต้มหัวหงอก" หรือที่รู้จักกันทั่วๆไปว่า ข้าวต้มหัวหงอก นั่นเอง นิยมทำทีละเยอะๆ หลายๆอันแล้วต้มพร้อมกันทีเดียวเพราะว่าใช้เวลาในการต้มนาน

น้ำเหมี้ยง เป็นอาหารตำรับล้านนาใช้หัวน้ำเหมี้ยง ซึ่งเป็นน้ำที่ได้จากตอนนึ่งเหมี้ยง (ใบชา) แล้วนำไปเคี่ยวจนข้นงวด คนเหนือใช้หัวน้ำเหมี้ยงในการปรุงอาหาร มีรสอูมามิและความฝาดนิดๆ จึงใช้ปรุงแต่น้อย เมนูน้ำเหมี้ยงนี้เป็นเครื่องจิ้มของคนเหนือ ใส่เนื้อหมูผัดกับเครื่องโขลก ได้แก่กระเทียม หอมแดง และกะปิ ผัดให้หอมแล้วจึงเติมน้ำต้มสุก ใส่หัวน้ำเหมี้ยง และใส่ข้าวคั่วเพื่อให้ความหอมและทำให้เครื่องจิ้มข้น หอมอร่อย กินจิ้มกับข้าวเหนียวนึ่ง แคบหมูและพริกแห้งทอด ลำแต้ๆเจ้า

ไส้อั่ว นับเป็นความชาญฉลาดของบรรพบุรุษชาวล้านนาอย่างหนึ่งในการใช้สอยทุกส่วนของหมูได้อย่างคุ้มค่า คำว่า “อั่ว” เป็นคำเมือง แปลว่า การแทรกหรือยัดไว้ตรงกลาง เมื่อนำเครื่องต่างๆยัดเข้าไปในไส้หมู จึงเรียกว่า ไส้อั่ว สูตรนี้เป็นสูตรไส้อั่วตับที่ใส่ตับเข้าไปเพิ่มความมันเเละนัว หอมกลิ่นพริกแกงเเละเครื่องสมุนไพรไทย ย่างจนสุกเกรียมหอม จนได้ออกมาเป็นไส้อั่วตับอร่อยๆ จะทำขาย ทำเเจกหรือทำไปฝากเพื่อนก็ได้

อาหารว่างโบราณที่นับว่าหากินอยากอีกชนิดหนึ่งคือกระทงทอง นับวันจะยิ่งไม่ค่อยนิยมทำตามร้านอาหารเพราะต้องละเมียดในการทอดกระทงทีละชิ้น ทีละคำเพื่อใส่ไส้ อีกทั้งจะทอดทิ้งไว้ก็กลัวจะไม่อร่อย กระทงทองจึงเป็นอาหารที่นิยมทำกินเองที่บ้านหรือแจกจ่ายให้เพื่อนสนิทมิตรสหายรักเสียมากกว่า เมื่อได้แป้งกระทงทองที่กรอบบาง ไม่อมน้ำมันแล้ว ไส้กระทงทองก็สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามใจชอบ เช่น ไส้ยำส้มโอ ไส้เมี่ยงลาว ไส้ปู ไส้ซอสขาว

จิ้นแดง จิ้นเเห้งหรือจิ้นเกลือ คือ วิธีการถนอมอาหารของคนภาคเหนือ เเต่เดิมใช้เนื้อวัวทำให้ได้เนื้อที่มีสีเเดงเเต่ในปัจจุบันหันมาใช้เนื้อหมูมากขึ้น วิธีการทำคือสไลด์เนื้อสัตว์เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำมาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุงต่างๆ ใส่สีผสมอาหารเพื่อทำให้เนื้อมีสีเเดง จากนั้นนำไปตากแดดให้ได้ที่แล้วนำย่างบนเตาถ่านให้พอสุกเเละเเห้ง สามารถเก็บไว้ได้นาน

อาหารเหนือที่หลายคนคุ้นเคยกับเมนู จอผักกาด แกงผักกาดชนิดหนึ่งของชาวเหนือ บ้างก็เรียกเมนูนี้ว่า ผักกาดจอ หรือจอผักกาดเหนือ ซึ่งคำว่า "จอ" ในภาษาเหนือ หมายถึง ต้มผัก ส่วน "ผักกาด" มาจากคำว่า ผักกาดจ้อน หมายถึง ผักกวางตุ้งที่กำลังออกดอก สูตรนี้นำผักกาดจอมาต้มกับกระดูกหมูจนเข้าเนื้อเเละน้ำซุปกลมกล่อม เติมรสนัวจากถั่วเน่าเเผ่น จ่าวน้ำมันกระเทียมเจียวตอนสุดท้ายเพิ่มความหอมนัวให้มากยิ่งขึ้น เป็นเมนูต้องรับต้นปีใหม่ได้ดีทีเดียว

คนเมืองส่วนใหญ่เรียกกันสั้นๆว่า "เข้าต้ม" ถ้าใส่กล้วยน้ำว่าสุก "เข้าต้มกล้วย ถ้าใส่ถั่วลิส่งเรียก "เข้าต้มถั่วดิน"และถ้าโรยมะพร้าวขูดจะเรียก "เข้าต้มหัวหงอก" หรือที่รู้จักกันทั่วๆไปว่า ข้าวต้มหัวหงอก นั่นเอง นิยมทำทีละเยอะๆ หลายๆอันแล้วต้มพร้อมกันทีเดียวเพราะว่าใช้เวลาในการต้มนาน

น้ำเหมี้ยง เป็นอาหารตำรับล้านนาใช้หัวน้ำเหมี้ยง ซึ่งเป็นน้ำที่ได้จากตอนนึ่งเหมี้ยง (ใบชา) แล้วนำไปเคี่ยวจนข้นงวด คนเหนือใช้หัวน้ำเหมี้ยงในการปรุงอาหาร มีรสอูมามิและความฝาดนิดๆ จึงใช้ปรุงแต่น้อย เมนูน้ำเหมี้ยงนี้เป็นเครื่องจิ้มของคนเหนือ ใส่เนื้อหมูผัดกับเครื่องโขลก ได้แก่กระเทียม หอมแดง และกะปิ ผัดให้หอมแล้วจึงเติมน้ำต้มสุก ใส่หัวน้ำเหมี้ยง และใส่ข้าวคั่วเพื่อให้ความหอมและทำให้เครื่องจิ้มข้น หอมอร่อย กินจิ้มกับข้าวเหนียวนึ่ง แคบหมูและพริกแห้งทอด ลำแต้ๆเจ้า

ไส้อั่ว นับเป็นความชาญฉลาดของบรรพบุรุษชาวล้านนาอย่างหนึ่งในการใช้สอยทุกส่วนของหมูได้อย่างคุ้มค่า คำว่า “อั่ว” เป็นคำเมือง แปลว่า การแทรกหรือยัดไว้ตรงกลาง เมื่อนำเครื่องต่างๆยัดเข้าไปในไส้หมู จึงเรียกว่า ไส้อั่ว สูตรนี้เป็นสูตรไส้อั่วตับที่ใส่ตับเข้าไปเพิ่มความมันเเละนัว หอมกลิ่นพริกแกงเเละเครื่องสมุนไพรไทย ย่างจนสุกเกรียมหอม จนได้ออกมาเป็นไส้อั่วตับอร่อยๆ จะทำขาย ทำเเจกหรือทำไปฝากเพื่อนก็ได้

อาหารว่างโบราณที่นับว่าหากินอยากอีกชนิดหนึ่งคือกระทงทอง นับวันจะยิ่งไม่ค่อยนิยมทำตามร้านอาหารเพราะต้องละเมียดในการทอดกระทงทีละชิ้น ทีละคำเพื่อใส่ไส้ อีกทั้งจะทอดทิ้งไว้ก็กลัวจะไม่อร่อย กระทงทองจึงเป็นอาหารที่นิยมทำกินเองที่บ้านหรือแจกจ่ายให้เพื่อนสนิทมิตรสหายรักเสียมากกว่า เมื่อได้แป้งกระทงทองที่กรอบบาง ไม่อมน้ำมันแล้ว ไส้กระทงทองก็สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามใจชอบ เช่น ไส้ยำส้มโอ ไส้เมี่ยงลาว ไส้ปู ไส้ซอสขาว

จิ้นแดง จิ้นเเห้งหรือจิ้นเกลือ คือ วิธีการถนอมอาหารของคนภาคเหนือ เเต่เดิมใช้เนื้อวัวทำให้ได้เนื้อที่มีสีเเดงเเต่ในปัจจุบันหันมาใช้เนื้อหมูมากขึ้น วิธีการทำคือสไลด์เนื้อสัตว์เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำมาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุงต่างๆ ใส่สีผสมอาหารเพื่อทำให้เนื้อมีสีเเดง จากนั้นนำไปตากแดดให้ได้ที่แล้วนำย่างบนเตาถ่านให้พอสุกเเละเเห้ง สามารถเก็บไว้ได้นาน

อาหารเหนือที่หลายคนคุ้นเคยกับเมนู จอผักกาด แกงผักกาดชนิดหนึ่งของชาวเหนือ บ้างก็เรียกเมนูนี้ว่า ผักกาดจอ หรือจอผักกาดเหนือ ซึ่งคำว่า "จอ" ในภาษาเหนือ หมายถึง ต้มผัก ส่วน "ผักกาด" มาจากคำว่า ผักกาดจ้อน หมายถึง ผักกวางตุ้งที่กำลังออกดอก สูตรนี้นำผักกาดจอมาต้มกับกระดูกหมูจนเข้าเนื้อเเละน้ำซุปกลมกล่อม เติมรสนัวจากถั่วเน่าเเผ่น จ่าวน้ำมันกระเทียมเจียวตอนสุดท้ายเพิ่มความหอมนัวให้มากยิ่งขึ้น เป็นเมนูต้องรับต้นปีใหม่ได้ดีทีเดียว

คนเมืองส่วนใหญ่เรียกกันสั้นๆว่า "เข้าต้ม" ถ้าใส่กล้วยน้ำว่าสุก "เข้าต้มกล้วย ถ้าใส่ถั่วลิส่งเรียก "เข้าต้มถั่วดิน"และถ้าโรยมะพร้าวขูดจะเรียก "เข้าต้มหัวหงอก" หรือที่รู้จักกันทั่วๆไปว่า ข้าวต้มหัวหงอก นั่นเอง นิยมทำทีละเยอะๆ หลายๆอันแล้วต้มพร้อมกันทีเดียวเพราะว่าใช้เวลาในการต้มนาน

น้ำเหมี้ยง เป็นอาหารตำรับล้านนาใช้หัวน้ำเหมี้ยง ซึ่งเป็นน้ำที่ได้จากตอนนึ่งเหมี้ยง (ใบชา) แล้วนำไปเคี่ยวจนข้นงวด คนเหนือใช้หัวน้ำเหมี้ยงในการปรุงอาหาร มีรสอูมามิและความฝาดนิดๆ จึงใช้ปรุงแต่น้อย เมนูน้ำเหมี้ยงนี้เป็นเครื่องจิ้มของคนเหนือ ใส่เนื้อหมูผัดกับเครื่องโขลก ได้แก่กระเทียม หอมแดง และกะปิ ผัดให้หอมแล้วจึงเติมน้ำต้มสุก ใส่หัวน้ำเหมี้ยง และใส่ข้าวคั่วเพื่อให้ความหอมและทำให้เครื่องจิ้มข้น หอมอร่อย กินจิ้มกับข้าวเหนียวนึ่ง แคบหมูและพริกแห้งทอด ลำแต้ๆเจ้า
Recommended Videos