เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่

Serves
4 คน
Level
2
มีนา-เมษาแบบนี้ถือเป็นหน้าของไข่มดแดง ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นอัญมณีแห่งฤดูกาลสำหรับคนเหนือและคนอีสานเลยทีเดียว ไข่มดแดงนำมาทำอาหารได้หลากหลาย ตั้งแต่น้ำพริก แกงจืด ต้มยำ ไข่เจียว แม้กระทั่งทอดกินเป็นของกินเล่น ที่เรารู้จักกันดีคือแกงผัดหวานไข่มดแดงแบบคนอีสานกิน คราวนี้เราเอาไข่มดแดงมาทำต้มจืดไข่น้ำแบบง่ายๆ ย้อนนึกถึงวัยเด็กของคนเหนือกันเสียหน่อย
INGREDIENTS
ไข่มดแดง
3/4 ถ้วย (150 กรัม)
น้ำ
3 ถ้วย
หอมแดงปอกเปลือก บุบ
5 หัว
มะเขือส้ม บุบ
1 ถ้วย
ไข่ไก่ตีพอเข้ากัน
2 ฟอง
ซีอิ๊วขาวหรือน้ำปลา
2 ช้อนโต๊ะ
ผักชีซอย
2 ช้อนโต๊ะ
ต้นหอมซอย
2 ช้อนโต๊ะ
METHOD
- ล้างไข่มดแดงให้สะอาด สะเด็ดน้ำ พักไว้
- ตั้งหม้อน้ำให้เดือด ใส่หอมแดง และมะเขือส้ม ต้มพอให้หอมแดงสุกใส เทไข่ไก่ลงไปในขณะน้ำแกงเดือด คนให้ไข่ไก่กระจายตัว ปรุงรสด้วยซีอิ๊วขาว ใส่ผักชี ต้นหอม และไข่มดแดงลงไป เคี่ยวให้เดือดประมาณ 2-3 นาที ปิดไฟ
- ตักเจียวไข่มดแดงใส่ชาม เสิร์ฟ
บทความเพิ่มเติม
Gallery







Recommended Articles

ไส้อั่ว นับเป็นความชาญฉลาดของบรรพบุรุษชาวล้านนาอย่างหนึ่งในการใช้สอยทุกส่วนของหมูได้อย่างคุ้มค่า คำว่า “อั่ว” เป็นคำเมือง แปลว่า การแทรกหรือยัดไว้ตรงกลาง เมื่อนำเครื่องต่างๆยัดเข้าไปในไส้หมู จึงเรียกว่า ไส้อั่ว สูตรนี้เป็นสูตรไส้อั่วตับที่ใส่ตับเข้าไปเพิ่มความมันเเละนัว หอมกลิ่นพริกแกงเเละเครื่องสมุนไพรไทย ย่างจนสุกเกรียมหอม จนได้ออกมาเป็นไส้อั่วตับอร่อยๆ จะทำขาย ทำเเจกหรือทำไปฝากเพื่อนก็ได้

จิ้นแดง จิ้นเเห้งหรือจิ้นเกลือ คือ วิธีการถนอมอาหารของคนภาคเหนือ เเต่เดิมใช้เนื้อวัวทำให้ได้เนื้อที่มีสีเเดงเเต่ในปัจจุบันหันมาใช้เนื้อหมูมากขึ้น วิธีการทำคือสไลด์เนื้อสัตว์เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำมาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุงต่างๆ ใส่สีผสมอาหารเพื่อทำให้เนื้อมีสีเเดง จากนั้นนำไปตากแดดให้ได้ที่แล้วนำย่างบนเตาถ่านให้พอสุกเเละเเห้ง สามารถเก็บไว้ได้นาน

อาหารเหนือที่หลายคนคุ้นเคยกับเมนู จอผักกาด แกงผักกาดชนิดหนึ่งของชาวเหนือ บ้างก็เรียกเมนูนี้ว่า ผักกาดจอ หรือจอผักกาดเหนือ ซึ่งคำว่า "จอ" ในภาษาเหนือ หมายถึง ต้มผัก ส่วน "ผักกาด" มาจากคำว่า ผักกาดจ้อน หมายถึง ผักกวางตุ้งที่กำลังออกดอก สูตรนี้นำผักกาดจอมาต้มกับกระดูกหมูจนเข้าเนื้อเเละน้ำซุปกลมกล่อม เติมรสนัวจากถั่วเน่าเเผ่น จ่าวน้ำมันกระเทียมเจียวตอนสุดท้ายเพิ่มความหอมนัวให้มากยิ่งขึ้น เป็นเมนูต้องรับต้นปีใหม่ได้ดีทีเดียว

คนเมืองส่วนใหญ่เรียกกันสั้นๆว่า "เข้าต้ม" ถ้าใส่กล้วยน้ำว่าสุก "เข้าต้มกล้วย ถ้าใส่ถั่วลิส่งเรียก "เข้าต้มถั่วดิน"และถ้าโรยมะพร้าวขูดจะเรียก "เข้าต้มหัวหงอก" หรือที่รู้จักกันทั่วๆไปว่า ข้าวต้มหัวหงอก นั่นเอง นิยมทำทีละเยอะๆ หลายๆอันแล้วต้มพร้อมกันทีเดียวเพราะว่าใช้เวลาในการต้มนาน

คาราเมลคัสตาร์ดเนื้อเนียน หวานมัน สัมผัสนุ่มกำลังดี หอมหวานกลิ่นน้ำตาลไหม้ ทำได้ง่ายไม่ไกลเกินเอื้อมเพียงทำตามขั้นตอนเช่น การกรองส่วนผสมก่อนใส่ลงพิมพ์ ช้อนฟองในพิมพ์ออกก่อนอบ และการอบหล่อน้ำเพื่อให้เนื้อคัสตาร์ดสุกแบบเนียนละมุน ส่วนการทำคาราเมลไม่ยากอย่างที่คิด เเค่เคี่ยวน้ำตาลกับน้ำแบบปิดฝาหม้อจนให้น้ำตาลละลายก่อน แล้วจึงเปิดฝาหม้อให้น้ำตาลค่อยๆเปลี่ยนเป็นคาราเมล (สีน้ำตาลเข้ม) เท่านี้ก็หมดปัญหาน้ำตาลตกผลึกเวลาทำคาราเมลแล้ว

ไส้อั่ว นับเป็นความชาญฉลาดของบรรพบุรุษชาวล้านนาอย่างหนึ่งในการใช้สอยทุกส่วนของหมูได้อย่างคุ้มค่า คำว่า “อั่ว” เป็นคำเมือง แปลว่า การแทรกหรือยัดไว้ตรงกลาง เมื่อนำเครื่องต่างๆยัดเข้าไปในไส้หมู จึงเรียกว่า ไส้อั่ว สูตรนี้เป็นสูตรไส้อั่วตับที่ใส่ตับเข้าไปเพิ่มความมันเเละนัว หอมกลิ่นพริกแกงเเละเครื่องสมุนไพรไทย ย่างจนสุกเกรียมหอม จนได้ออกมาเป็นไส้อั่วตับอร่อยๆ จะทำขาย ทำเเจกหรือทำไปฝากเพื่อนก็ได้

จิ้นแดง จิ้นเเห้งหรือจิ้นเกลือ คือ วิธีการถนอมอาหารของคนภาคเหนือ เเต่เดิมใช้เนื้อวัวทำให้ได้เนื้อที่มีสีเเดงเเต่ในปัจจุบันหันมาใช้เนื้อหมูมากขึ้น วิธีการทำคือสไลด์เนื้อสัตว์เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำมาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุงต่างๆ ใส่สีผสมอาหารเพื่อทำให้เนื้อมีสีเเดง จากนั้นนำไปตากแดดให้ได้ที่แล้วนำย่างบนเตาถ่านให้พอสุกเเละเเห้ง สามารถเก็บไว้ได้นาน

อาหารเหนือที่หลายคนคุ้นเคยกับเมนู จอผักกาด แกงผักกาดชนิดหนึ่งของชาวเหนือ บ้างก็เรียกเมนูนี้ว่า ผักกาดจอ หรือจอผักกาดเหนือ ซึ่งคำว่า "จอ" ในภาษาเหนือ หมายถึง ต้มผัก ส่วน "ผักกาด" มาจากคำว่า ผักกาดจ้อน หมายถึง ผักกวางตุ้งที่กำลังออกดอก สูตรนี้นำผักกาดจอมาต้มกับกระดูกหมูจนเข้าเนื้อเเละน้ำซุปกลมกล่อม เติมรสนัวจากถั่วเน่าเเผ่น จ่าวน้ำมันกระเทียมเจียวตอนสุดท้ายเพิ่มความหอมนัวให้มากยิ่งขึ้น เป็นเมนูต้องรับต้นปีใหม่ได้ดีทีเดียว

คนเมืองส่วนใหญ่เรียกกันสั้นๆว่า "เข้าต้ม" ถ้าใส่กล้วยน้ำว่าสุก "เข้าต้มกล้วย ถ้าใส่ถั่วลิส่งเรียก "เข้าต้มถั่วดิน"และถ้าโรยมะพร้าวขูดจะเรียก "เข้าต้มหัวหงอก" หรือที่รู้จักกันทั่วๆไปว่า ข้าวต้มหัวหงอก นั่นเอง นิยมทำทีละเยอะๆ หลายๆอันแล้วต้มพร้อมกันทีเดียวเพราะว่าใช้เวลาในการต้มนาน

คาราเมลคัสตาร์ดเนื้อเนียน หวานมัน สัมผัสนุ่มกำลังดี หอมหวานกลิ่นน้ำตาลไหม้ ทำได้ง่ายไม่ไกลเกินเอื้อมเพียงทำตามขั้นตอนเช่น การกรองส่วนผสมก่อนใส่ลงพิมพ์ ช้อนฟองในพิมพ์ออกก่อนอบ และการอบหล่อน้ำเพื่อให้เนื้อคัสตาร์ดสุกแบบเนียนละมุน ส่วนการทำคาราเมลไม่ยากอย่างที่คิด เเค่เคี่ยวน้ำตาลกับน้ำแบบปิดฝาหม้อจนให้น้ำตาลละลายก่อน แล้วจึงเปิดฝาหม้อให้น้ำตาลค่อยๆเปลี่ยนเป็นคาราเมล (สีน้ำตาลเข้ม) เท่านี้ก็หมดปัญหาน้ำตาลตกผลึกเวลาทำคาราเมลแล้ว

ไส้อั่ว นับเป็นความชาญฉลาดของบรรพบุรุษชาวล้านนาอย่างหนึ่งในการใช้สอยทุกส่วนของหมูได้อย่างคุ้มค่า คำว่า “อั่ว” เป็นคำเมือง แปลว่า การแทรกหรือยัดไว้ตรงกลาง เมื่อนำเครื่องต่างๆยัดเข้าไปในไส้หมู จึงเรียกว่า ไส้อั่ว สูตรนี้เป็นสูตรไส้อั่วตับที่ใส่ตับเข้าไปเพิ่มความมันเเละนัว หอมกลิ่นพริกแกงเเละเครื่องสมุนไพรไทย ย่างจนสุกเกรียมหอม จนได้ออกมาเป็นไส้อั่วตับอร่อยๆ จะทำขาย ทำเเจกหรือทำไปฝากเพื่อนก็ได้

จิ้นแดง จิ้นเเห้งหรือจิ้นเกลือ คือ วิธีการถนอมอาหารของคนภาคเหนือ เเต่เดิมใช้เนื้อวัวทำให้ได้เนื้อที่มีสีเเดงเเต่ในปัจจุบันหันมาใช้เนื้อหมูมากขึ้น วิธีการทำคือสไลด์เนื้อสัตว์เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำมาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุงต่างๆ ใส่สีผสมอาหารเพื่อทำให้เนื้อมีสีเเดง จากนั้นนำไปตากแดดให้ได้ที่แล้วนำย่างบนเตาถ่านให้พอสุกเเละเเห้ง สามารถเก็บไว้ได้นาน

อาหารเหนือที่หลายคนคุ้นเคยกับเมนู จอผักกาด แกงผักกาดชนิดหนึ่งของชาวเหนือ บ้างก็เรียกเมนูนี้ว่า ผักกาดจอ หรือจอผักกาดเหนือ ซึ่งคำว่า "จอ" ในภาษาเหนือ หมายถึง ต้มผัก ส่วน "ผักกาด" มาจากคำว่า ผักกาดจ้อน หมายถึง ผักกวางตุ้งที่กำลังออกดอก สูตรนี้นำผักกาดจอมาต้มกับกระดูกหมูจนเข้าเนื้อเเละน้ำซุปกลมกล่อม เติมรสนัวจากถั่วเน่าเเผ่น จ่าวน้ำมันกระเทียมเจียวตอนสุดท้ายเพิ่มความหอมนัวให้มากยิ่งขึ้น เป็นเมนูต้องรับต้นปีใหม่ได้ดีทีเดียว

คนเมืองส่วนใหญ่เรียกกันสั้นๆว่า "เข้าต้ม" ถ้าใส่กล้วยน้ำว่าสุก "เข้าต้มกล้วย ถ้าใส่ถั่วลิส่งเรียก "เข้าต้มถั่วดิน"และถ้าโรยมะพร้าวขูดจะเรียก "เข้าต้มหัวหงอก" หรือที่รู้จักกันทั่วๆไปว่า ข้าวต้มหัวหงอก นั่นเอง นิยมทำทีละเยอะๆ หลายๆอันแล้วต้มพร้อมกันทีเดียวเพราะว่าใช้เวลาในการต้มนาน

คาราเมลคัสตาร์ดเนื้อเนียน หวานมัน สัมผัสนุ่มกำลังดี หอมหวานกลิ่นน้ำตาลไหม้ ทำได้ง่ายไม่ไกลเกินเอื้อมเพียงทำตามขั้นตอนเช่น การกรองส่วนผสมก่อนใส่ลงพิมพ์ ช้อนฟองในพิมพ์ออกก่อนอบ และการอบหล่อน้ำเพื่อให้เนื้อคัสตาร์ดสุกแบบเนียนละมุน ส่วนการทำคาราเมลไม่ยากอย่างที่คิด เเค่เคี่ยวน้ำตาลกับน้ำแบบปิดฝาหม้อจนให้น้ำตาลละลายก่อน แล้วจึงเปิดฝาหม้อให้น้ำตาลค่อยๆเปลี่ยนเป็นคาราเมล (สีน้ำตาลเข้ม) เท่านี้ก็หมดปัญหาน้ำตาลตกผลึกเวลาทำคาราเมลแล้ว
Recommended Videos