เปิด "ตำราอาหาร" ได้ที่นี่
Serves
6 คน
Level
2
แกงพื้นบ้านของชาวล้านนา น้ำแกงขลุกขลิกได้มาจากการต้มกระดูกหมูกับผักกวางตุ้งดอกจนเปื่อยนุ่ม เครื่องแกงมีเพียงหอมแดง กระเทียมและถั่วเน่าโขลกให้เข้ากัน ปรุงรสง่ายๆด้วยเกลือและน้ำมะขามเปียกเพื่อชูรสเล็กน้อย
INGREDIENTS
หอมแดงซอย
1/2 ถ้วย
กระเทียมไทยแกะเปลือก
1 ช้อนโต๊ะ
ถั่วเน่าแข็บบิ้งจนหอม
2 แผ่น
เกลือป่น
1 ช้อนชา
น้ำ
6 ถ้วย
ซี่โครงหมูอ่อนสับท่อน
500 กรัม
ผักกวางตุ้งมีดอก
1 กิโลกรัม
น้ำมะขามเปียก
2 ช้อนโต๊ะ
กระเทียมเจียวและพริกขี้หนูแห้งทอดสำหรับตกแต่ง
METHOD
1. โขลกหอมแดง กระเทียม ถั่วเน่า และเกลือป่น จนละเอียด พักไว้ ต้มน้ำในหม้อด้วยไฟกลางจนเดือด ใส่ซี่โครงหมูลงต้มจนน้ำซุปเดือด ช้อนฟองทิ้งจนน้ำซุปใส แล้วใส่เครื่องที่โขลก เคี่ยวด้วยไฟกลางจนซี่โครงหมูเปื่อยนุ่ม
2. ล้างผักกวางตุ้งจนสะอาด ตัดส่วนที่แก่ออก หั่นส่วนที่เหลือเป็นท่อนประมาณ 2 นิ้ว ใส่ผักกวางตุ้งลงในหม้อที่ต้ม ปิดฝา เคี่ยวจนผักสุกนุ่ม ปรุงรสด้วยน้ำมะขามเปียก ชิมรสให้เค็มเปรี้ยว
3. ตักใส่ชาม ตกแต่งด้วยกระเทียมเจียวและพริกขี้หนูแห้งทอด เสิร์ฟ
Tags:
Recommended Articles
ไส้อั่ว นับเป็นความชาญฉลาดของบรรพบุรุษชาวล้านนาอย่างหนึ่งในการใช้สอยทุกส่วนของหมูได้อย่างคุ้มค่า คำว่า “อั่ว” เป็นคำเมือง แปลว่า การแทรกหรือยัดไว้ตรงกลาง เมื่อนำเครื่องต่างๆยัดเข้าไปในไส้หมู จึงเรียกว่า ไส้อั่ว สูตรนี้เป็นสูตรไส้อั่วตับที่ใส่ตับเข้าไปเพิ่มความมันเเละนัว หอมกลิ่นพริกแกงเเละเครื่องสมุนไพรไทย ย่างจนสุกเกรียมหอม จนได้ออกมาเป็นไส้อั่วตับอร่อยๆ จะทำขาย ทำเเจกหรือทำไปฝากเพื่อนก็ได้
จิ้นแดง จิ้นเเห้งหรือจิ้นเกลือ คือ วิธีการถนอมอาหารของคนภาคเหนือ เเต่เดิมใช้เนื้อวัวทำให้ได้เนื้อที่มีสีเเดงเเต่ในปัจจุบันหันมาใช้เนื้อหมูมากขึ้น วิธีการทำคือสไลด์เนื้อสัตว์เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำมาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุงต่างๆ ใส่สีผสมอาหารเพื่อทำให้เนื้อมีสีเเดง จากนั้นนำไปตากแดดให้ได้ที่แล้วนำย่างบนเตาถ่านให้พอสุกเเละเเห้ง สามารถเก็บไว้ได้นาน
อาหารเหนือที่หลายคนคุ้นเคยกับเมนู จอผักกาด แกงผักกาดชนิดหนึ่งของชาวเหนือ บ้างก็เรียกเมนูนี้ว่า ผักกาดจอ หรือจอผักกาดเหนือ ซึ่งคำว่า "จอ" ในภาษาเหนือ หมายถึง ต้มผัก ส่วน "ผักกาด" มาจากคำว่า ผักกาดจ้อน หมายถึง ผักกวางตุ้งที่กำลังออกดอก สูตรนี้นำผักกาดจอมาต้มกับกระดูกหมูจนเข้าเนื้อเเละน้ำซุปกลมกล่อม เติมรสนัวจากถั่วเน่าเเผ่น จ่าวน้ำมันกระเทียมเจียวตอนสุดท้ายเพิ่มความหอมนัวให้มากยิ่งขึ้น เป็นเมนูต้องรับต้นปีใหม่ได้ดีทีเดียว
คนเมืองส่วนใหญ่เรียกกันสั้นๆว่า "เข้าต้ม" ถ้าใส่กล้วยน้ำว่าสุก "เข้าต้มกล้วย ถ้าใส่ถั่วลิส่งเรียก "เข้าต้มถั่วดิน"และถ้าโรยมะพร้าวขูดจะเรียก "เข้าต้มหัวหงอก" หรือที่รู้จักกันทั่วๆไปว่า ข้าวต้มหัวหงอก นั่นเอง นิยมทำทีละเยอะๆ หลายๆอันแล้วต้มพร้อมกันทีเดียวเพราะว่าใช้เวลาในการต้มนาน
น้ำเหมี้ยง เป็นอาหารตำรับล้านนาใช้หัวน้ำเหมี้ยง ซึ่งเป็นน้ำที่ได้จากตอนนึ่งเหมี้ยง (ใบชา) แล้วนำไปเคี่ยวจนข้นงวด คนเหนือใช้หัวน้ำเหมี้ยงในการปรุงอาหาร มีรสอูมามิและความฝาดนิดๆ จึงใช้ปรุงแต่น้อย เมนูน้ำเหมี้ยงนี้เป็นเครื่องจิ้มของคนเหนือ ใส่เนื้อหมูผัดกับเครื่องโขลก ได้แก่กระเทียม หอมแดง และกะปิ ผัดให้หอมแล้วจึงเติมน้ำต้มสุก ใส่หัวน้ำเหมี้ยง และใส่ข้าวคั่วเพื่อให้ความหอมและทำให้เครื่องจิ้มข้น หอมอร่อย กินจิ้มกับข้าวเหนียวนึ่ง แคบหมูและพริกแห้งทอด ลำแต้ๆเจ้า
ไส้อั่ว นับเป็นความชาญฉลาดของบรรพบุรุษชาวล้านนาอย่างหนึ่งในการใช้สอยทุกส่วนของหมูได้อย่างคุ้มค่า คำว่า “อั่ว” เป็นคำเมือง แปลว่า การแทรกหรือยัดไว้ตรงกลาง เมื่อนำเครื่องต่างๆยัดเข้าไปในไส้หมู จึงเรียกว่า ไส้อั่ว สูตรนี้เป็นสูตรไส้อั่วตับที่ใส่ตับเข้าไปเพิ่มความมันเเละนัว หอมกลิ่นพริกแกงเเละเครื่องสมุนไพรไทย ย่างจนสุกเกรียมหอม จนได้ออกมาเป็นไส้อั่วตับอร่อยๆ จะทำขาย ทำเเจกหรือทำไปฝากเพื่อนก็ได้
จิ้นแดง จิ้นเเห้งหรือจิ้นเกลือ คือ วิธีการถนอมอาหารของคนภาคเหนือ เเต่เดิมใช้เนื้อวัวทำให้ได้เนื้อที่มีสีเเดงเเต่ในปัจจุบันหันมาใช้เนื้อหมูมากขึ้น วิธีการทำคือสไลด์เนื้อสัตว์เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำมาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุงต่างๆ ใส่สีผสมอาหารเพื่อทำให้เนื้อมีสีเเดง จากนั้นนำไปตากแดดให้ได้ที่แล้วนำย่างบนเตาถ่านให้พอสุกเเละเเห้ง สามารถเก็บไว้ได้นาน
อาหารเหนือที่หลายคนคุ้นเคยกับเมนู จอผักกาด แกงผักกาดชนิดหนึ่งของชาวเหนือ บ้างก็เรียกเมนูนี้ว่า ผักกาดจอ หรือจอผักกาดเหนือ ซึ่งคำว่า "จอ" ในภาษาเหนือ หมายถึง ต้มผัก ส่วน "ผักกาด" มาจากคำว่า ผักกาดจ้อน หมายถึง ผักกวางตุ้งที่กำลังออกดอก สูตรนี้นำผักกาดจอมาต้มกับกระดูกหมูจนเข้าเนื้อเเละน้ำซุปกลมกล่อม เติมรสนัวจากถั่วเน่าเเผ่น จ่าวน้ำมันกระเทียมเจียวตอนสุดท้ายเพิ่มความหอมนัวให้มากยิ่งขึ้น เป็นเมนูต้องรับต้นปีใหม่ได้ดีทีเดียว
คนเมืองส่วนใหญ่เรียกกันสั้นๆว่า "เข้าต้ม" ถ้าใส่กล้วยน้ำว่าสุก "เข้าต้มกล้วย ถ้าใส่ถั่วลิส่งเรียก "เข้าต้มถั่วดิน"และถ้าโรยมะพร้าวขูดจะเรียก "เข้าต้มหัวหงอก" หรือที่รู้จักกันทั่วๆไปว่า ข้าวต้มหัวหงอก นั่นเอง นิยมทำทีละเยอะๆ หลายๆอันแล้วต้มพร้อมกันทีเดียวเพราะว่าใช้เวลาในการต้มนาน
น้ำเหมี้ยง เป็นอาหารตำรับล้านนาใช้หัวน้ำเหมี้ยง ซึ่งเป็นน้ำที่ได้จากตอนนึ่งเหมี้ยง (ใบชา) แล้วนำไปเคี่ยวจนข้นงวด คนเหนือใช้หัวน้ำเหมี้ยงในการปรุงอาหาร มีรสอูมามิและความฝาดนิดๆ จึงใช้ปรุงแต่น้อย เมนูน้ำเหมี้ยงนี้เป็นเครื่องจิ้มของคนเหนือ ใส่เนื้อหมูผัดกับเครื่องโขลก ได้แก่กระเทียม หอมแดง และกะปิ ผัดให้หอมแล้วจึงเติมน้ำต้มสุก ใส่หัวน้ำเหมี้ยง และใส่ข้าวคั่วเพื่อให้ความหอมและทำให้เครื่องจิ้มข้น หอมอร่อย กินจิ้มกับข้าวเหนียวนึ่ง แคบหมูและพริกแห้งทอด ลำแต้ๆเจ้า
ไส้อั่ว นับเป็นความชาญฉลาดของบรรพบุรุษชาวล้านนาอย่างหนึ่งในการใช้สอยทุกส่วนของหมูได้อย่างคุ้มค่า คำว่า “อั่ว” เป็นคำเมือง แปลว่า การแทรกหรือยัดไว้ตรงกลาง เมื่อนำเครื่องต่างๆยัดเข้าไปในไส้หมู จึงเรียกว่า ไส้อั่ว สูตรนี้เป็นสูตรไส้อั่วตับที่ใส่ตับเข้าไปเพิ่มความมันเเละนัว หอมกลิ่นพริกแกงเเละเครื่องสมุนไพรไทย ย่างจนสุกเกรียมหอม จนได้ออกมาเป็นไส้อั่วตับอร่อยๆ จะทำขาย ทำเเจกหรือทำไปฝากเพื่อนก็ได้
จิ้นแดง จิ้นเเห้งหรือจิ้นเกลือ คือ วิธีการถนอมอาหารของคนภาคเหนือ เเต่เดิมใช้เนื้อวัวทำให้ได้เนื้อที่มีสีเเดงเเต่ในปัจจุบันหันมาใช้เนื้อหมูมากขึ้น วิธีการทำคือสไลด์เนื้อสัตว์เป็นแผ่นบางๆ แล้วนำมาคลุกเคล้ากับเครื่องปรุงต่างๆ ใส่สีผสมอาหารเพื่อทำให้เนื้อมีสีเเดง จากนั้นนำไปตากแดดให้ได้ที่แล้วนำย่างบนเตาถ่านให้พอสุกเเละเเห้ง สามารถเก็บไว้ได้นาน
อาหารเหนือที่หลายคนคุ้นเคยกับเมนู จอผักกาด แกงผักกาดชนิดหนึ่งของชาวเหนือ บ้างก็เรียกเมนูนี้ว่า ผักกาดจอ หรือจอผักกาดเหนือ ซึ่งคำว่า "จอ" ในภาษาเหนือ หมายถึง ต้มผัก ส่วน "ผักกาด" มาจากคำว่า ผักกาดจ้อน หมายถึง ผักกวางตุ้งที่กำลังออกดอก สูตรนี้นำผักกาดจอมาต้มกับกระดูกหมูจนเข้าเนื้อเเละน้ำซุปกลมกล่อม เติมรสนัวจากถั่วเน่าเเผ่น จ่าวน้ำมันกระเทียมเจียวตอนสุดท้ายเพิ่มความหอมนัวให้มากยิ่งขึ้น เป็นเมนูต้องรับต้นปีใหม่ได้ดีทีเดียว
คนเมืองส่วนใหญ่เรียกกันสั้นๆว่า "เข้าต้ม" ถ้าใส่กล้วยน้ำว่าสุก "เข้าต้มกล้วย ถ้าใส่ถั่วลิส่งเรียก "เข้าต้มถั่วดิน"และถ้าโรยมะพร้าวขูดจะเรียก "เข้าต้มหัวหงอก" หรือที่รู้จักกันทั่วๆไปว่า ข้าวต้มหัวหงอก นั่นเอง นิยมทำทีละเยอะๆ หลายๆอันแล้วต้มพร้อมกันทีเดียวเพราะว่าใช้เวลาในการต้มนาน
น้ำเหมี้ยง เป็นอาหารตำรับล้านนาใช้หัวน้ำเหมี้ยง ซึ่งเป็นน้ำที่ได้จากตอนนึ่งเหมี้ยง (ใบชา) แล้วนำไปเคี่ยวจนข้นงวด คนเหนือใช้หัวน้ำเหมี้ยงในการปรุงอาหาร มีรสอูมามิและความฝาดนิดๆ จึงใช้ปรุงแต่น้อย เมนูน้ำเหมี้ยงนี้เป็นเครื่องจิ้มของคนเหนือ ใส่เนื้อหมูผัดกับเครื่องโขลก ได้แก่กระเทียม หอมแดง และกะปิ ผัดให้หอมแล้วจึงเติมน้ำต้มสุก ใส่หัวน้ำเหมี้ยง และใส่ข้าวคั่วเพื่อให้ความหอมและทำให้เครื่องจิ้มข้น หอมอร่อย กินจิ้มกับข้าวเหนียวนึ่ง แคบหมูและพริกแห้งทอด ลำแต้ๆเจ้า
Recommended Videos